ภาพนักศึกษาและประชาชนที่ถูกฆ่าตายที่หน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เป็นเวลา ๔๑ปีมาแล้ว และ เมื่อ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เป็นเวลา ๓๘ ปีมาแล้ว กับภาพที่ประชาชนถูกฆ่าที่ราชประสงค์ เมื่อ ๑๙ พค. ๒๕๕๓ ผู้ที่สั่งฆ่าก็คือคนๆเดียวกันจอมเผด็จการปีศาจผีดิบอำมหิตกระหายเลือด แห่งยุค ..องค์ราชันย์ผู้ขอตายคาบัลลังก์เลือด... เชิญดูคลิปข้างล่างนี้ ....
คลิกดูhttp://issuu.com/thai_e-news/docs/pridibooklet_-_6_october_remembrance
1.ชายชุดดำยุค14ตุลา2516
ชายที่ใส่เสื้อสีดำใช้ปืนยาวยิงตำรวจที่บชน.เดิมตรงผ่านฟ้า โดยมีนักศึกษาช่างกลนำปืนที่ยึดมาได้จากร้านปืนแถวย่านแยกอุณากรรณ์ เป็นไรเฟิ่ล ซุ่มยิงตำรวจ โดยมีพรรคพวกคอยส่งกระสุนให้ และก่อนค่ำวันนั้นเอง(15ต.ค.2516) บชน.ก็ถูกอาชีวะและประชาชนใช้รถน้ำ้ฉีดน้ำมันแล้วเผาจนวอดทั้งตึก
หากเรื่องนี้มาเกิดในพ.ศ.2553 พวกเขาจะถูกเรียกว่า"ผู้ก่อการร้ายชายชุดดำ เผาบ้านเผาเมือง" แต่ในยุค 14 ตุลา 2516 เราเรียกพวกเขาว่า"วีรชนผู้รักชาติ"
2.พันเอกร่มเกล้ายุค14ตุลา16
ทหารราบ 11 เริ่มนอนหมอบหลังจากถูก Sniper อาชีวะยิง ด้วยปืนไรเฟิ่ล นายทหารคนซ้ายมือ กำลังมองหาที่มาของจุดยิงปืนไรเฟิ่ล ที่ยิงทหารจนทะลุหมวกเหล็ก ล้มทั้งยืน
หากเรื่องนี้มาเกิดในปีพ.ศ.2553ทหารที่ถูกยิงจนทะลุหมวกเหล็กจะกลายเป็นพลเอก และสลิ่มในเฟซบุ๊คจะเขียนยกย่องวีรกรรม แต่เรื่องนี้เกิดในปี2516พวกเขาจึงถูกเรียกว่า"สมุนทรราชย์เข่นฆ่าประชาชน"
3.การระบายความคับแค้นของประชาชนยุค14ตุลาฯ
การเผาทำลายสถานที่ราชการ เช่น ที่ทำการกรมประชาสัมพันธ์ ตึกกตป. ตึกบชน. การเผารถเมล์เพื่อใช้ควันไฟพลางทหารในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถูกอธิบายว่าเป็นการระบายความคับแค้นของประชาชนที่มีต่อสัญลักษณ์ของระบอบเผด็จการ จึงถือเป็นวีรกรรม
ของวีรชน 14 ตุลาคม 2516 แต่หากมาเกิดในปัจจุบันจะถูกเรียกว่า "เผาบ้าน เผาเมือง"
https://www.youtube.com/watch?v=2GrFngl5fLI&feature=player_embedded
วิดิโอนี้ เสนอภาพ "เผาบ้าน เผาเมือง"(หากเป็นมิติในปัจจุบัน)ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 หลังจากจอมพลถนอมประกาศ ลาออกจากนายกรัฐมนตรี นายสัญญา ธรรมศักดิ์ (องคมนตรี) ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรีและประกาศ จะให้มีรัฐธรรมนูญภายใน 6 เดือน
4.การพระราชทานเพลิงศพวีรชน
15 ตุลาคม 2517 ภาพเหตุการณ์ ณ เมรุสนามหลวง สถานที่พระราชทานเพลิงศพ
"วีรชน 14 ตุลาคม 2516" (ปกติสนามหลวงไม่ใช่เป็นสถานที่ ฌาปณกิจ สามัญชน)
ริ้วขบวน นิสิต นักศึกษา ประชาชน แห่แหน ศพ "วีรชน" อย่างยิ่งใหญ่ (หากเรื่องนี้มาเกิดในปี2553 พวกเขาจะกลายเป็นศพที่ยังไม่รู้ว่าใครฆ่า อาจถูกกล่าวหาเป็นผู้ก่อการร้ายที่ถูกสังหาร และผู้นำการประท้วงของพวกเขาอาจถูกดำเนินคดีก่อการร้าย)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงจุดฝักแค พระราชทานเพลิงศพ "วีรชน 14 ตุลาคม 2516"
หากเรื่องนี้มาเกิดในพ.ศ.2553 พวกเขาจะถูกเรียกว่า"ผู้ก่อการร้ายชายชุดดำ เผาบ้านเผาเมือง" แต่ในยุค 14 ตุลา 2516 เราเรียกพวกเขาว่า"วีรชนผู้รักชาติ"
2.พันเอกร่มเกล้ายุค14ตุลา16
ทหารราบ 11 เริ่มนอนหมอบหลังจากถูก Sniper อาชีวะยิง ด้วยปืนไรเฟิ่ล นายทหารคนซ้ายมือ กำลังมองหาที่มาของจุดยิงปืนไรเฟิ่ล ที่ยิงทหารจนทะลุหมวกเหล็ก ล้มทั้งยืน
หากเรื่องนี้มาเกิดในปีพ.ศ.2553ทหารที่ถูกยิงจนทะลุหมวกเหล็กจะกลายเป็นพลเอก และสลิ่มในเฟซบุ๊คจะเขียนยกย่องวีรกรรม แต่เรื่องนี้เกิดในปี2516พวกเขาจึงถูกเรียกว่า"สมุนทรราชย์เข่นฆ่าประชาชน"
3.การระบายความคับแค้นของประชาชนยุค14ตุลาฯ
การเผาทำลายสถานที่ราชการ เช่น ที่ทำการกรมประชาสัมพันธ์ ตึกกตป. ตึกบชน. การเผารถเมล์เพื่อใช้ควันไฟพลางทหารในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถูกอธิบายว่าเป็นการระบายความคับแค้นของประชาชนที่มีต่อสัญลักษณ์ของระบอบเผด็จการ จึงถือเป็นวีรกรรม
ของวีรชน 14 ตุลาคม 2516 แต่หากมาเกิดในปัจจุบันจะถูกเรียกว่า "เผาบ้าน เผาเมือง"
https://www.youtube.com/watch?v=2GrFngl5fLI&feature=player_embedded
วิดิโอนี้ เสนอภาพ "เผาบ้าน เผาเมือง"(หากเป็นมิติในปัจจุบัน)ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 หลังจากจอมพลถนอมประกาศ ลาออกจากนายกรัฐมนตรี นายสัญญา ธรรมศักดิ์ (องคมนตรี) ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรีและประกาศ จะให้มีรัฐธรรมนูญภายใน 6 เดือน
4.การพระราชทานเพลิงศพวีรชน
15 ตุลาคม 2517 ภาพเหตุการณ์ ณ เมรุสนามหลวง สถานที่พระราชทานเพลิงศพ
"วีรชน 14 ตุลาคม 2516" (ปกติสนามหลวงไม่ใช่เป็นสถานที่ ฌาปณกิจ สามัญชน)
ริ้วขบวน นิสิต นักศึกษา ประชาชน แห่แหน ศพ "วีรชน" อย่างยิ่งใหญ่ (หากเรื่องนี้มาเกิดในปี2553 พวกเขาจะกลายเป็นศพที่ยังไม่รู้ว่าใครฆ่า อาจถูกกล่าวหาเป็นผู้ก่อการร้ายที่ถูกสังหาร และผู้นำการประท้วงของพวกเขาอาจถูกดำเนินคดีก่อการร้าย)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงจุดฝักแค พระราชทานเพลิงศพ "วีรชน 14 ตุลาคม 2516"
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar