fredag 6 september 2019

็How King Vajialongkorn is in full control of the military — and the country


Good article in ⁦⁩ on how King Vajialongkorn is in full control of the military — and the country

Changing of the guardRelations between Thailand’s army and king are becoming one-sided

The king has created his own crack unit and is expelling others from Bangkok

 

RIGID AND austere, King Chulalongkorn, the fifth monarch of Thailand’s Chakri dynasty, gazes across Bangkok’s Royal Plaza from a gleaming steed. The bronze statue is just one immovable legacy of the Thai monarchy. The mindset of the country’s armed forces is another. The king overhauled them late in the 19th century, founding a military and naval academy, creating a ministry of defence and indelibly associating them with the crown.
Thailand’s generals have seized power 12 times since a revolution brought an end to absolute monarchy in 1932. The most recent coup was in 2014. The general who led it, Prayuth Chan-ocha, has remained prime minister ever since. But his authority over the army he once commanded is fading. Instead it is King Maha Vajiralongkorn who is fast becoming the biggest influence over Thailand’s men and women in uniform.
...............................................................



Somsak Jeamteerasakul updated his status.

ความขัดแย้งภายในวัง (พ่อ-ลูก, พี่-น้อง, องคมนตรี-ลูก)
ความขัดแย้งระหว่างวังกับทหาร
ความขัดแย้งภายในทหารด้วยกันเอง
#ไม่เคยมีลักษณะรุนแรงถึงขนาดเป็นความขัดแย้งที่มีการจัดตั้ง คือแบ่งเป็นก๊กเป็นพวกที่ชัดเจน (organized faction) มาแต่ไหนแต่ไร อย่างมากที่สุด เป็นเพียงเรื่องของการเข้าหน้ากันไม่สนิท คาแรกเตอร์ไม่ค่อยลงรอยกันในระดับตัวบุคคล ซึ่งโดยภาพรวมก็น้อย ไม่ได้มีมากอะไร
โดยเฉพาะนับตั้งแต่หลังทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา (คือร่วม 30 ปีแล้ว) การที่ก่อนหน้านั้น โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษ 2520 มีร่องรอยหรือการแสดงออกของความขัดแย้งใน 3 ลักษณะนั้นมาก (ในวัง ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ภายในครอบครัวมีความ "ระหองระแหง" มากที่สุด หลังจากนั้นก็ไม่ได้มีอะไรแล้ว ในกองทัพ มีการพยายามทำรัฐประหารหลายครั้ง) ที่สำคัญส่วนหนึ่ง เป็นผลสะเทือนมาจากการลุกขึ้นสู้ 14 ตุลา กล่าวคือการลุกขึ้นสู้ของประชาชนครั้งนั้น ได้ทำให้ "เกิดรอยร้าว" ในองคาพยพส่วนสำคัญๆของรัฐ เช่นการเกิด "ยังเติร์ก" หรือนายทหารชั้นผู้น้อย ที่ไม่ยอมขึ้นต่อการบัญชาการระดับบน แต่นั่นเป็นเพียงประวัติศาตร์ช่วงสั้นที่ผ่านมานานแล้ว
......................................................


Inga kommentarer:

Skicka en kommentar