ข่าว ThaiE - news
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ : โมเดลของ คสช ไม่ใช่ คมช (เปรียบเทียบ แล้วหลงทาง) โมเดลของ คสช คือ ปฏิวัติ 2501/02 ของสฤษดิ์
ที่มา FB Charnvit Ks
Thai political history is repeating itself
(From Sarit/Thanom to Prayuth)
It should be compared to Sarit's 2502/1959
ควรจะต้องเปรียบเทียบกับ ธรรมนูญฉบับ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2502
จะเห็นภาพว่า คสช ต้องการทำอะไร
เพราะ สฤษดิ์ น่าจะเป็น โมเดล
ของอนุรักษ์นิยม อำนาจนิยม และ อประชาธิปไตยมวลไทย
สรุป
โมเดลของ คสช ไม่ใช่ คมช (เปรีียบเทียบ แล้วหลงทาง)
โมเดลของ คสช คือ ปฏิวัติ 2501/02 ของสฤษดิ์
ที่ให้อำนาจเบ็ดเสร็จ absolutism ม 17 กับ นรม
และที่ใช้เวลาร่างรัฐธรรมถึงกว่า 10 ปี
(ดึงเกม อยู่ในอำนาจ)
จะมาคลอดคือ รัฐธรรมนูญฉบับ 2511 ครับ
cK@WiilHistoryRepeatItself???http://th.wikisource.org/wiki/ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร_พุทธศักราช_๒๕๐๒
อย่าลืมความจริงโทษจอมพลสฤษดิ์คนเดียว! ต้องโทษบุคคลสำคัญคือ"ผู้ลงนามเซ็นมอบอำนาจ"นั้นให้จอมพลสฤษดิ์และทุกนายพลที่ทำการยึดอำนาจ ...โดยเฉพาะนายพลคนสุดท้ายที่รับอำนาจมาสดๆร้อนๆ
กรณีการใช้มาตรา 17- การปราบปรามคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
- การสั่งประหารชีวิตบ้านต้นเพลิงที่ตลาดพลู
- การสั่งยึดทรัพย์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดย จอมพลถนอม กิตติขจร
- การสั่งยึดทรัพย์จอมพลถนอม กิตติขจร โดย นายสัญญา ธรรมศักดิ์
- การสั่งประหารชีวิตบ้านต้นเพลิงที่ตลาดพลู
- การสั่งยึดทรัพย์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดย จอมพลถนอม กิตติขจร
- การสั่งยึดทรัพย์จอมพลถนอม กิตติขจร โดย นายสัญญา ธรรมศักดิ์
คดีแรก วันที่ 6 พฤศจิกายนที่ตำบลบางยี่เรือ
คดีที่ 2 วันที่8 พฤศจิกายน เพลิงไหม้ที่ตลาดพลูมูลค่าความเสียหายหลายล้านบาทในสมัยนั้น
คดีที่ 3 ในวันที่25 พฤศจิกายน เพลิงไหม้โรงเลื่อยจักรบ้วนเฮงหลง ตำบลวัดพระยาไกร และ
คดีที่ 4 ในวันที่ 19 ธันวาคมปีเดียวกัน เกิดเพลิงไหม้บ้านเรือนเกือบ 300 หลังคาเรือนที่ตลาดท่าช้าง อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ครั้งนี้จอมพลสฤษดิ์ เดินทางด้วยเฮลิคอปเตอร์เพื่อบัญชาการดับไฟและสอบสวนผู้ต้องหาด้วยตนเอง และมีคำสั่งยิงเป้าผู้ต้องหาทันที ณ ที่เกิดเหตุนั้นเอง
อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดจาก “คทาจอมพล” กลายเป็นอาญาสิทธิ์การปกครองที่ไม่อนุญาตให้ผู้หนึ่งผู้ใดละเมิดหรือโต้แย้งได้ในส่วนการควบคุมประชาชนนั้น การกำจัดเสรีภาพในการคิด การพูด และการแสดงความเห็นผ่านสื่อต่างๆ ซึ่งในเวลานั้นสื่อที่สำคัญที่สุดคือ “หนังสือพิมพ์” คณะปฏิวัติภายใต้การนำของจอมพลสฤษดิ์ ถือเป็นการดำเนินการเร่งด่วน เริ่มจากการกวาดล้างจับกุม นักการเมือง นัหนังสือพิมพ์ ปัญญาชนนักคิดนักเขียน นักศึกษา อาจารย์และปัญญาชน ผู้นำกรรมกรและผู้นำท้องถิ่น รวมทั้งพระภิกษุสงฆ์ที่ถูกจับสึกในเวลาต่อมา รวมทั้งสิ้นเป็นจำนวนหลายร้อยคนโดยไม่มีการไต่สวนตาม
2. ตามมาด้วยการยิงเป้า
นายทองพันธ์ สุทธมาศ และ
นายครอง จันดาวงศ์ อดีต ส.ส. จังหวัดสกลนคร จากพรรคแนวร่วมเศรษฐกร ที่อำเภอสว่างดินแดน จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2504 และ
คดีที่ 2 วันที่8 พฤศจิกายน เพลิงไหม้ที่ตลาดพลูมูลค่าความเสียหายหลายล้านบาทในสมัยนั้น
คดีที่ 3 ในวันที่25 พฤศจิกายน เพลิงไหม้โรงเลื่อยจักรบ้วนเฮงหลง ตำบลวัดพระยาไกร และ
คดีที่ 4 ในวันที่ 19 ธันวาคมปีเดียวกัน เกิดเพลิงไหม้บ้านเรือนเกือบ 300 หลังคาเรือนที่ตลาดท่าช้าง อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ครั้งนี้จอมพลสฤษดิ์ เดินทางด้วยเฮลิคอปเตอร์เพื่อบัญชาการดับไฟและสอบสวนผู้ต้องหาด้วยตนเอง และมีคำสั่งยิงเป้าผู้ต้องหาทันที ณ ที่เกิดเหตุนั้นเอง
กฎหมายแต่อย่างใด อาทิเช่น
- นายอุทธรณ์ พลกุล,
- นายอิศรา อมันตกุล,
- นายกรุณา กุศลาศัย,
- นายอุทธรณ์ พลกุล,
- นายอิศรา อมันตกุล,
- นายกรุณา กุศลาศัย,
- นายจิตร ภูมิศักดิ์,
- นายแคล้ว นรปติ,
- นายทองใบ ทองเปาด์,
- นายอุดม ศรีสุวรรณ,
- นายทวีป วรดิลก,
- นายสุพจน์ ด่านตระกูล และ
- พระมหามนัส จิตตธัมโม วัดมหาธาตุ เป็นต้น
- นายแคล้ว นรปติ,
- นายทองใบ ทองเปาด์,
- นายอุดม ศรีสุวรรณ,
- นายทวีป วรดิลก,
- นายสุพจน์ ด่านตระกูล และ
- พระมหามนัส จิตตธัมโม วัดมหาธาตุ เป็นต้น
1. ยิงเป้า นายศุภชัย ศรีสติ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2502 ที่ท้องสนามหลวง
2. ตามมาด้วยการยิงเป้า
นายครอง จันดาวงศ์ อดีต ส.ส. จังหวัดสกลนคร จากพรรคแนวร่วมเศรษฐกร ที่อำเภอสว่างดินแดน จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2504 และ
3. วันที่ 24 เมษายน 2505 ยิงเป้า นายรวม วงศ์พันธ์ ณ แดนประหาร เรือนจำบางขวาง จังหวัดนนทบุรี
ผลที่ตามมาคือ ปัญญาชนจำนวนไม่น้อยที่ถูกบีบคั้นกดดันจากอำนาจเผด็จการ ตัดสินใจมุ่งสู่เขตป่าเขาใน ชนบทเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ทั้งๆที่ในขณะนั้น พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยยังไม่อยู่ในสภาพเข้มแข็งพอจะลุกขึ้นสู้กับรัฐบาลได้แต่อย่างใด
ผลที่ตามมาคือ ปัญญาชนจำนวนไม่น้อยที่ถูกบีบคั้นกดดันจากอำนาจเผด็จการ ตัดสินใจมุ่งสู่เขตป่าเขาใน ชนบทเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ทั้งๆที่ในขณะนั้น พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยยังไม่อยู่ในสภาพเข้มแข็งพอจะลุกขึ้นสู้กับรัฐบาลได้แต่อย่างใด
ปลาย ปี 2504 นายจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งขณะนั้นอยู่ในคุก แต่งเพลง “วีรชนปฏิวัติ” ขึ้น จากความความรู้สึกประทับใจในการต่อสู้ของนายครอง จันดาวงศ์ และในเวลาต่อมาเพลงนี้ก็ยังได้รับการเผยแพร่และขับร้องกันสืบเนื่องต่อมาในขบวนการฝ่ายประชาชน.
ผลที่ตามมาคือ ปัญญาชนจำนวนไม่น้อยตัดสินใจมุ่งสู่เขตป่าเขาในชนบททั้งที่พรรคคอมมิวนิสต์ยังไม่เข้มแข็งแต่อย่างใด
โลกวันนี้ ฉบับวันสุข วันที่ 24 - 30 ตุลาคม 2552
คอลัมน์ พายเรือในอ่าง ผู้เขียน อริน
ผลที่ตามมาคือ ปัญญาชนจำนวนไม่น้อยตัดสินใจมุ่งสู่เขตป่าเขาในชนบททั้งที่พรรคคอมมิวนิสต์ยังไม่เข้มแข็งแต่อย่างใด
โลกวันนี้ ฉบับวันสุข วันที่ 24 - 30 ตุลาคม 2552
คอลัมน์ พายเรือในอ่าง ผู้เขียน อริน
..................................................................
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar