ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมต่ำสุดในรอบหกปี โฆษกรัฐบาลเผย นายกรัฐมนตรีเน้นให้รัฐมนตรีใหม่เร่งเครื่องเศรษฐกิจ แย้มอาจทำงานคาบเกี่ยวจนถึงปี 2560
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมของไทยในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมาว่า ปรับลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 และต่ำสุดในรอบ 6 ปี 2 เดือน โดยดัชนีความเชื่อมั่นฯ อยู่ที่ระดับ 83 ลดลงจากเดือนมิถุนายนซึ่งอยู่ที่ 84 มีสาเหตุจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจและการส่งออกหดตัว สภาอุตสาหกรรมฯ เสนอแนะให้รัฐบาลเร่งเบิกจ่ายงบ...ลงทุนและทำโครงการลงทุนภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ด้าน พล.ต. สรรเสริญ แก้วกำเนิด โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงหลังประชุมคณะรัฐมนตรีว่า นายกรัฐมนตรีขอให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่เร่งทำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และเน้นว่าไม่มีเวลา “ฮันนีมูน” แล้ว โดยรัฐบาลมีเวลาทำงานที่อาจต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 60 ดังนั้นจึงต้องการให้ทุกกระทรวงมีความคืบหน้าในการออกมาตรการต่าง ๆ ซึ่งต้องสร้างความเข้าใจกับประชาชน ทั้งนี้ รัฐบาลมุ่งหวังให้มาตรการที่จะดำเนินต่อไปเป็นรูปธรรมภายในเวลาสามเดือน
สำนักข่าวไทยรายงานว่า ก่อนหน้านี้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ขอให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ โดยในด้านเศรษฐกิจจะเน้นก่อให้เกิดการลงทุน สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ส่วนในประเทศจะกระตุ้นให้ผู้มีรายได้น้อยมีอำนาจในการซื้อเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ นายกรัฐมนตรี ยังเรียกร้องให้ทุกคนช่วยชาติด้วยการออกมาใช้จ่าย
“การจะช่วยให้เศรษฐกิจในประเทศดีขึ้น ทุกคนต้องกล้าใช้เงิน ขอร้องให้ทุกคนช่วยชาติด้วยการออกมาใช้จ่าย โดยเฉพาะคนระดับกลาง ที่เชื่อว่ามีความสามารถในการใช้จ่าย แต่อาจจะเกิดความไม่เชื่อ
มั่น” นายกรัฐมนตรีกล่าว
สำนักข่าวไทยรายงานว่า ก่อนหน้านี้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ขอให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ โดยในด้านเศรษฐกิจจะเน้นก่อให้เกิดการลงทุน สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ส่วนในประเทศจะกระตุ้นให้ผู้มีรายได้น้อยมีอำนาจในการซื้อเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ นายกรัฐมนตรี ยังเรียกร้องให้ทุกคนช่วยชาติด้วยการออกมาใช้จ่าย
“การจะช่วยให้เศรษฐกิจในประเทศดีขึ้น ทุกคนต้องกล้าใช้เงิน ขอร้องให้ทุกคนช่วยชาติด้วยการออกมาใช้จ่าย โดยเฉพาะคนระดับกลาง ที่เชื่อว่ามีความสามารถในการใช้จ่าย แต่อาจจะเกิดความไม่เชื่อ
มั่น” นายกรัฐมนตรีกล่าว
นายกรัฐมนตรีปรามกระแสคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ ด้าน “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” ระบุชัดไม่ต้องการให้ สปช.ผ่านร่างรัฐธรรมนูญ “ยิ่งลักษณ์” รับไม่ได้ ร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตยทำให้บ้านเมืองหยุดชะงัก
วันที่ 6 ก.ย.นี้ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จะพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้เสนอต่อ สปช. เมื่อวันที่ 22 ส.ค. อย่างไรก็ดี ขณะนี้มีกระแสเรียกร้องให้ สปช.ไม่ผ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึงการเรียกร้องของหัวหน้าพรรคกา...รเมืองและอดีตนักการเมืองที่ให้คว่ำร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวว่า บุคคลเหล่านี้ไม่มีสิทธิ์เสนอ และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการ ณ วันนี้ ขณะที่สื่อไม่ควรนำความเห็นเหล่านี้มาขยายความ อย่างไรก็ดี ยังไม่จำเป็นที่จะต้องห้ามการแสดงความเห็นของนักการเมือง แต่เมื่อถึงเวลาตนจะจัดการเอง
ด้านนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ออกมาระบุชัดเจนว่าไม่ต้องการให้ สปช.ผ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ โดยนสพ.กรุงเทพ ธุรกิจรายงานว่า นายอภิสิทธิ์ต้องการให้ปรับปรุงเนื้อหาในรัฐธรรมนูญให้ดีก่อนทำประชามติ เพราะยังมีช่องโหว่ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ (คปป.) ที่รัฐบาลในอนาคตอาจแก้ไขกฎหมายลูกกำหนดกติกาการได้มาซึ่ง ส.ว. และ คปป. ก็จะเกิดปัญหามาก นายอภิสิทธิ์เสนอให้เชิญทุกฝ่ายมาหารือเพื่อร่วมปรับปรุงเนื้อหา และแจ้งให้สังคมรับรู้ว่าต้องการปฏิรูปสิ่งใด และจะใช้กลไกใดมากำกับดูแลในประเด็นที่ว่าทำให้เกิดรัฐซ้อนรัฐ
“ทางออกที่ดีที่สุดคือ สปช.คว่ำร่างรัฐธรรมนูญ มีคณะกรรมการ 21 คนมาปรับปรุงเนื้อหา คงเป้าหมายการปฏิรูป การรักษาความสงบ และการเปลี่ยนผ่านที่ราบรื่นไว้ หากไม่รับฟังก็เกรงจะเกิดความขัดแย้งในทุกขั้นตอนนับจากนี้ เพราะ คปป.ที่เขียนขึ้นมาไม่มีรูปธรรมว่าขอบเขตการใช้อำนาจคืออะไร ต่างจากการบัญญัติในเรื่องการสกัดนโยบายประชานิยม” นายอภิสิทธิ์ระบุ
ด้าน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวว่านักวิชาการหลายคนให้ความเห็นว่าร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไม่ได้ยึดโยงกับประชาชน ตนจึงมีความเป็นห่วง และคิดว่ารับไม่ได้ และหวังว่าผู้เกี่ยวข้องจะฟังเสียงประชาชน น.ส.ยิ่งลักษณ์ เห็นว่าการไม่มีรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยทำให้บ้านเมืองหยุดชะงัก และในฐานะที่ตนมาจากการเลือกตั้งก็ไม่เห็นด้วยที่จะให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เดินหน้าต่อไป
ด้านคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ออกแถลงการณ์แสดงความเป็นห่วงที่ร่างรัฐธรรมนูญ ไม่ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้อย่างชัดเจน แต่ระบุเพียงว่าให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งอาจทำให้คณะกรรมการสิทธิฯ ตกอยู่ใต้อาณัติของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติ ที่จะตรากฎหมายออกมากำหนดหรือควบคุมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปในทิศทางใดก็ได้
นายกรัฐมนตรีปรามกระแสคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ ด้าน “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” ระบุชัดไม่ต้องการให้ สปช.ผ่านร่างรัฐธรรมนูญ “ยิ่งลักษณ์” รับไม่ได้ ร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตยทำให้บ้านเมืองหยุดชะงัก
วันที่ 6 ก.ย.นี้ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จะพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้เสนอต่อ สปช. เมื่อวันที่ 22 ส.ค. อย่างไรก็ดี ขณะนี้มีกระแสเรียกร้องให้ สปช.ไม่ผ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึงการเรียกร้องของหัวหน้าพรรคกา...รเมืองและอดีตนักการเมืองที่ให้คว่ำร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวว่า บุคคลเหล่านี้ไม่มีสิทธิ์เสนอ และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการ ณ วันนี้ ขณะที่สื่อไม่ควรนำความเห็นเหล่านี้มาขยายความ อย่างไรก็ดี ยังไม่จำเป็นที่จะต้องห้ามการแสดงความเห็นของนักการเมือง แต่เมื่อถึงเวลาตนจะจัดการเอง
วันที่ 6 ก.ย.นี้ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) จะพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้เสนอต่อ สปช. เมื่อวันที่ 22 ส.ค. อย่างไรก็ดี ขณะนี้มีกระแสเรียกร้องให้ สปช.ไม่ผ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึงการเรียกร้องของหัวหน้าพรรคกา...รเมืองและอดีตนักการเมืองที่ให้คว่ำร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวว่า บุคคลเหล่านี้ไม่มีสิทธิ์เสนอ และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการ ณ วันนี้ ขณะที่สื่อไม่ควรนำความเห็นเหล่านี้มาขยายความ อย่างไรก็ดี ยังไม่จำเป็นที่จะต้องห้ามการแสดงความเห็นของนักการเมือง แต่เมื่อถึงเวลาตนจะจัดการเอง
ด้านนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ออกมาระบุชัดเจนว่าไม่ต้องการให้ สปช.ผ่านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ โดยนสพ.กรุงเทพ ธุรกิจรายงานว่า นายอภิสิทธิ์ต้องการให้ปรับปรุงเนื้อหาในรัฐธรรมนูญให้ดีก่อนทำประชามติ เพราะยังมีช่องโหว่ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ (คปป.) ที่รัฐบาลในอนาคตอาจแก้ไขกฎหมายลูกกำหนดกติกาการได้มาซึ่ง ส.ว. และ คปป. ก็จะเกิดปัญหามาก นายอภิสิทธิ์เสนอให้เชิญทุกฝ่ายมาหารือเพื่อร่วมปรับปรุงเนื้อหา และแจ้งให้สังคมรับรู้ว่าต้องการปฏิรูปสิ่งใด และจะใช้กลไกใดมากำกับดูแลในประเด็นที่ว่าทำให้เกิดรัฐซ้อนรัฐ
“ทางออกที่ดีที่สุดคือ สปช.คว่ำร่างรัฐธรรมนูญ มีคณะกรรมการ 21 คนมาปรับปรุงเนื้อหา คงเป้าหมายการปฏิรูป การรักษาความสงบ และการเปลี่ยนผ่านที่ราบรื่นไว้ หากไม่รับฟังก็เกรงจะเกิดความขัดแย้งในทุกขั้นตอนนับจากนี้ เพราะ คปป.ที่เขียนขึ้นมาไม่มีรูปธรรมว่าขอบเขตการใช้อำนาจคืออะไร ต่างจากการบัญญัติในเรื่องการสกัดนโยบายประชานิยม” นายอภิสิทธิ์ระบุ
ด้าน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวว่านักวิชาการหลายคนให้ความเห็นว่าร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไม่ได้ยึดโยงกับประชาชน ตนจึงมีความเป็นห่วง และคิดว่ารับไม่ได้ และหวังว่าผู้เกี่ยวข้องจะฟังเสียงประชาชน น.ส.ยิ่งลักษณ์ เห็นว่าการไม่มีรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยทำให้บ้านเมืองหยุดชะงัก และในฐานะที่ตนมาจากการเลือกตั้งก็ไม่เห็นด้วยที่จะให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เดินหน้าต่อไป
ด้านคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ออกแถลงการณ์แสดงความเป็นห่วงที่ร่างรัฐธรรมนูญ ไม่ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้อย่างชัดเจน แต่ระบุเพียงว่าให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งอาจทำให้คณะกรรมการสิทธิฯ ตกอยู่ใต้อาณัติของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติ ที่จะตรากฎหมายออกมากำหนดหรือควบคุมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปในทิศทางใดก็ได้
“ทางออกที่ดีที่สุดคือ สปช.คว่ำร่างรัฐธรรมนูญ มีคณะกรรมการ 21 คนมาปรับปรุงเนื้อหา คงเป้าหมายการปฏิรูป การรักษาความสงบ และการเปลี่ยนผ่านที่ราบรื่นไว้ หากไม่รับฟังก็เกรงจะเกิดความขัดแย้งในทุกขั้นตอนนับจากนี้ เพราะ คปป.ที่เขียนขึ้นมาไม่มีรูปธรรมว่าขอบเขตการใช้อำนาจคืออะไร ต่างจากการบัญญัติในเรื่องการสกัดนโยบายประชานิยม” นายอภิสิทธิ์ระบุ
ด้าน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวว่านักวิชาการหลายคนให้ความเห็นว่าร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไม่ได้ยึดโยงกับประชาชน ตนจึงมีความเป็นห่วง และคิดว่ารับไม่ได้ และหวังว่าผู้เกี่ยวข้องจะฟังเสียงประชาชน น.ส.ยิ่งลักษณ์ เห็นว่าการไม่มีรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยทำให้บ้านเมืองหยุดชะงัก และในฐานะที่ตนมาจากการเลือกตั้งก็ไม่เห็นด้วยที่จะให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เดินหน้าต่อไป
ด้านคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ออกแถลงการณ์แสดงความเป็นห่วงที่ร่างรัฐธรรมนูญ ไม่ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้อย่างชัดเจน แต่ระบุเพียงว่าให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งอาจทำให้คณะกรรมการสิทธิฯ ตกอยู่ใต้อาณัติของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติ ที่จะตรากฎหมายออกมากำหนดหรือควบคุมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปในทิศทางใดก็ได้
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar