måndag 30 maj 2011
lördag 28 maj 2011
วิธีมองการเมืองไทยอีกด้านหนึ่งสำหรับผู้ที่คิดว่าการเลือกตั้งจะแก้ปัญหาได้ทุกอย่าง
คอลัมน์ เมืองไทยหรือเมืองใคร?
เรื่อง คนละเกม
โดย กาหลิบ
พร้อมกับที่คนไทยส่วนใหญ่ให้ความสนใจต่อการเลือกตั้งครั้งนี้และตั้งความหวังไว้เสียสูงลิ่วว่าเศรษฐกิจของชาติจะดีขึ้นและการเมืองคงวุ่นวายน้อยลง คนกลุ่มเล็กๆ ที่มีอำนาจล้นพ้นในสังคมไทยกลับเล่นเกมที่แตกต่างจากมวลชนไทยโดยสิ้นเชิง
นั่นคือเขากำลังเดินเกมลดคุณค่าและความหมายของการเลือกตั้ง และหวังบ่อนทำลายระบอบประชาธิปไตยในระยะยาวเพื่อการรักษาระบอบของเขา
เลือกตั้งครั้งนี้จึงแปรปรวนไปมาเหมือนใบไม้ในลมหมุน
เริ่มต้นมาจากการลุ้นระทึกว่าจะได้เลือกตั้งหรือไม่ได้เลือกตั้ง ซึ่งเป็นการท้าทายอำนาจของคนไทยเป็นล้านๆ คนที่แสดงความต้องการชัดเจนว่าต้องการเลือกตั้ง ตามด้วยการให้ผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางการเมืองระดับต่ำอย่างกรรมการการเลือกตั้งออกมาส่งสัญญาณบ้าๆ บอๆ เสมือนจะล้มเลือกตั้งครั้งนี้ได้ทุกเมื่อ โดยอ้างเหตุผลแบบข้างๆ คูๆ
ให้สายพันธุ์พรรคประชาธิปัตย์ออกมาทำลายหลักการทางการเมืองของระบบรัฐสภา ด้วยการบอกว่าพรรคการเมืองทุกพรรคที่ได้รับเลือกตั้ง สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ทันที ไม่ต้องรอพรรคที่ได้รับเสียงข้างมากสูงสุดพยายามจัดตั้งก่อนอย่างที่ทั่วโลกเขาทำกัน
ส่งสัญญาณผ่านกระบวนการ “ปรองดอง” จนอดีตนายกรัฐมนตรีอย่างคุณทักษิณฯ ออกมาพูดปรารภทำนองที่ว่า คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอาจจะไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ถึงจะเป็นหมายเลขหนึ่งของพรรคที่ได้รับเสียงอันดับหนึ่งก็ตาม คล้ายจะเป็นการยืมมือฝ่ายประชาธิปไตยมาช่วยกวนกระแสบางอย่างให้มวลชนฝ่ายประชาธิปไตยเกิดความไขว้เขว
ตรงกันอย่างประหลาดกับคุณเนวิน ชิดชอบ ที่ออกมาแหย่ว่าคุณยิ่งลักษณ์ฯ และคุณอภิสิทธิ์ฯ อาจไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรีภายหลังการเลือกตั้งด้วยกันทั้งคู่
สมาชิกพรรคเพื่อไทยก็เรียงหน้าออกมาโต้ตอบคุณเนวินฯ เช่นเดียวกับพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ส่งทั้งหัวหน้าพรรคและเลขาธิการพรรคออกมาสวนหมัด
หลายคนในพรรคเพื่อไทยคงลืมไปว่า ประโยคที่คุณเนวินฯ พูดในเชิงพยากรณ์นั้นเป็นข้อความเดียวกับที่ออกจากปากของคุณทักษิณฯ มาหมาดๆ ถึงภาษาที่ใช้จะต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกันอย่างชัดเจน
น่าสนใจที่สื่อมวลชนทั้งหลายที่ไป “รับงาน” ช่วยระบอบเก่าก็ออกมาช่วยตีข่าวขี้ปากของคุณเนวินฯ จนเป็นข่าวใหญ่ข่าวโตเหมือนชีวิตทั้งชีวิตขึ้นกับเรื่องนี้
ทั้งหมดนี้ไม่ใช่เหตุบังเอิญ
ก็เพราะการเลือกตั้งครั้งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นจากสัมมาทิฐิหรือความตั้งใจอันดีของศักดินาไทย ไม่ใช่แม้แต่ความโอนอ่อนผ่อนตามความแข็งแกร่งของฝ่ายประชาชนอย่างที่หลายคนในฝ่ายเราคิด และมิใช่ความอ่อนแอของเขาในช่วงใกล้เปลี่ยนแปลงอย่างที่บางคนเข้าใจ
แต่เป็นกลศึกของฝ่ายเขา
จำได้ไหมว่า เมื่อขบวนประชาธิปไตยในช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๒ ทำท่าจะยกระดับขึ้นถึงระดับระบอบ ก็เกิดความแตกร้าวในฝ่ายประชาธิปไตยจนถึงขั้นประณามขับไล่กันกลางเวที แล้วคนที่เหลือบนเวทีนั้นก็นำขบวนไปสู่เป้าหมายที่เล็กลงเรื่อยๆ
เคยประกาศจะรุทำลายรังเผด็จการ ก็ลดลงมาเป็นการขอร้องให้ยุบสภาและเลือกตั้งใหม่
จากการเลือกตั้งที่ตั้งใจล้างอิทธิพลของฝ่ายอำนาจเก่าให้สิ้น ก็ลดลงมาเพียงได้เป็นรัฐบาลเสียก่อน อำนาจรัฐจะได้จริงหรือไม่ได้จริงก็ช่าง
ตอนนี้ดูเหมือนจะลดเป้าหมายลงไปอีก ขอเป็นแค่ร่วมรัฐบาลก็อาจจะเอา และอ้างเหตุผล แบบเดิมว่าเอาอำนาจรัฐไว้เสี้ยวหนึ่งก่อน ดีกว่าไม่ได้อะไรเลย ทั้งที่คนพูดก็รู้ว่าอำนาจรัฐนั้นมีเพียง ๒ ทางคือได้กับไม่ได้ ไอ้เรื่องแบ่งอำนาจกับเขาอย่างลงตัวชื่นมื่น ไม่เคยปรากฎในสารบบการเมืองไทย
สุดท้ายเขาก็ยอมให้เลือกตั้ง แล้วเล่นเกมตอดนิดตอดหน่อยว่าใครจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีและใครจะไม่ได้เป็น พรรคไหนจะได้เป็นเบี้ยของเขาในฝั่งรัฐบาลและใครต้องไปเป็นเบี้ยในฝั่งฝ่ายค้าน
ผู้เล่นเกมก็ต้องวิ่งตามเสียงเคาะกะลาไปตลอดทาง จนบางทีก็ลืมว่าเป็นคน
เป้าหมายสุดท้ายของเขาคือสูบความรักใคร่ นับถือ และศรัทธาจากมวลชนไปจนหมด พอเหลือแต่ซากแล้วเขาก็เสนอจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติที่นำโดย ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล นายพลากร สุวรรณรัฐ หรือคนชนิดเดียวกันนี้ มานั่งแทนรัฐบาลเลือกตั้งที่ประชาชนเคยรักและเคยหวัง
เห็นไหมว่าคนละเกมแท้ๆ ทีเดียว.
-------------------------------------------------------------------------------
fredag 27 maj 2011
Thailand arrests American for alleged king insult
AP
BANGKOK – Thai authorities said Friday they arrested an American citizen on charges he insulted the country's monarchy, in part by posting a link on his blog four years ago to a banned book about the Southeast Asian nation's ailing king.
The man is also suspected of translating, from English into Thai, portions of "The King Never Smiles" — an unauthorized biography of King Bhumibol Adulyadej — and posting them online along with articles he wrote that allegedly defame the royal family, said Tharit Pengdith, who heads the Department of Special Investigation, Thailand's equivalent of the FBI.
The American has denied the charges, according to the Thai-language prachatai.com news website, which tracks cases of lese majeste, as the crime of insulting the monarchy is known.
The 54-year-old Thai-born man lived in the U.S. state of Colorado for around 30 years before returning recently to Thailand for medical treatment, the website said.
Tharit said the man's Thai name was Lerpong Wichaikhammat. Walter M. Braunohler, the U.S. Embassy spokesman in Bangkok, identified the American as Joe Gordon and said a consular officer visited him on Friday morning. He declined comment further, saying only that officials were following the case "very closely."
"We're still looking into what the exact charges are," Braunohler told The Associated Press.
Thailand is a constitutional monarchy but has severe lese majeste laws that mandate a jail term of three to 15 years for any person who "defames, insults or threatens the king, the queen, the heir to the throne or the Regent."
Critics say the lese majeste laws — used with alarming frequency over the last several years — are often a weapon of political harassment and calls have grown recently to amend or abolish them.
Thai-based media routinely self-censor coverage of the royal family, but the Internet has tested the taboo. Thai authorities have responded by trying to block thousands of websites considered subversive, arguing that defending the monarchy is a priority.
Tharit said the man was arrested Tuesday and is facing charges that include inciting public unrest and violating Thailand's Computer Crimes Act. Gordon appeared before a Thai court Thursday, which denied him bail.
A DSI spokeswoman, speaking on customary condition of anonymity, said the American was arrested in the northeastern province of Nakhon Ratchasima and is being held in a Bangkok prison.
Praachatai.com said police arrested the man at his home and seized a computer and cell phone.
Sensitivity over criticism of the monarchy has increased in recent years as the poor health of the country's 83-year-old king has elevated concern about a smooth succession. At the same time, sharp partisan political battles in the wake of a 2006 military coup have unleashed unprecedented questioning of established institutions, including the palace.
Thailand's freedom of speech reputation has taken a battering in recent years, as successive governments have tried to suppress the opposition. Its standing in the Press Freedom Index issued by the Paris-based group Reporters Without Borders slid to 153 last year from 65 in 2002, when the ratings were initiated.
The number of lese majeste cases has grown dramatically in recent years. Between 1990 and 2005, an average of five per year made their way through the Thai court system. Since then, however, there have been at least 400 cases — an estimated 1,500 percent increase, according to David Streckfuss, an American scholar who wrote a recent book studying the harsh laws called "Truth on Trial."
In March, a Thai court sentenced Thanthawut Taweewarodomkul — the operator of an anti-government website — to 13 years on charges of defaming the monarchy and three more years for violating the Computer Crime Act.
The 38-year-old ran a website affiliated with the anti-government Red Shirt movement whose aggressive street protests last year deteriorated into violence and were quashed by the army.
The 2007 Computer Crime Act addresses hacking and other traditional online offenses, but also bars the circulation of material deemed detrimental to national security or that causes panic. It carries a penalty of up to five years' imprisonment and a fine of 100,000 baht ($3,285).
http://news.yahoo.com/s/ap/20110527/ap_o...d_monarchy
---------------------
BANGKOK – Thai authorities said Friday they arrested an American citizen on charges he insulted the country's monarchy, in part by posting a link on his blog four years ago to a banned book about the Southeast Asian nation's ailing king.
The man is also suspected of translating, from English into Thai, portions of "The King Never Smiles" — an unauthorized biography of King Bhumibol Adulyadej — and posting them online along with articles he wrote that allegedly defame the royal family, said Tharit Pengdith, who heads the Department of Special Investigation, Thailand's equivalent of the FBI.
The American has denied the charges, according to the Thai-language prachatai.com news website, which tracks cases of lese majeste, as the crime of insulting the monarchy is known.
The 54-year-old Thai-born man lived in the U.S. state of Colorado for around 30 years before returning recently to Thailand for medical treatment, the website said.
Tharit said the man's Thai name was Lerpong Wichaikhammat. Walter M. Braunohler, the U.S. Embassy spokesman in Bangkok, identified the American as Joe Gordon and said a consular officer visited him on Friday morning. He declined comment further, saying only that officials were following the case "very closely."
"We're still looking into what the exact charges are," Braunohler told The Associated Press.
Thailand is a constitutional monarchy but has severe lese majeste laws that mandate a jail term of three to 15 years for any person who "defames, insults or threatens the king, the queen, the heir to the throne or the Regent."
Critics say the lese majeste laws — used with alarming frequency over the last several years — are often a weapon of political harassment and calls have grown recently to amend or abolish them.
Thai-based media routinely self-censor coverage of the royal family, but the Internet has tested the taboo. Thai authorities have responded by trying to block thousands of websites considered subversive, arguing that defending the monarchy is a priority.
Tharit said the man was arrested Tuesday and is facing charges that include inciting public unrest and violating Thailand's Computer Crimes Act. Gordon appeared before a Thai court Thursday, which denied him bail.
A DSI spokeswoman, speaking on customary condition of anonymity, said the American was arrested in the northeastern province of Nakhon Ratchasima and is being held in a Bangkok prison.
Praachatai.com said police arrested the man at his home and seized a computer and cell phone.
Sensitivity over criticism of the monarchy has increased in recent years as the poor health of the country's 83-year-old king has elevated concern about a smooth succession. At the same time, sharp partisan political battles in the wake of a 2006 military coup have unleashed unprecedented questioning of established institutions, including the palace.
Thailand's freedom of speech reputation has taken a battering in recent years, as successive governments have tried to suppress the opposition. Its standing in the Press Freedom Index issued by the Paris-based group Reporters Without Borders slid to 153 last year from 65 in 2002, when the ratings were initiated.
The number of lese majeste cases has grown dramatically in recent years. Between 1990 and 2005, an average of five per year made their way through the Thai court system. Since then, however, there have been at least 400 cases — an estimated 1,500 percent increase, according to David Streckfuss, an American scholar who wrote a recent book studying the harsh laws called "Truth on Trial."
In March, a Thai court sentenced Thanthawut Taweewarodomkul — the operator of an anti-government website — to 13 years on charges of defaming the monarchy and three more years for violating the Computer Crime Act.
The 38-year-old ran a website affiliated with the anti-government Red Shirt movement whose aggressive street protests last year deteriorated into violence and were quashed by the army.
The 2007 Computer Crime Act addresses hacking and other traditional online offenses, but also bars the circulation of material deemed detrimental to national security or that causes panic. It carries a penalty of up to five years' imprisonment and a fine of 100,000 baht ($3,285).
http://news.yahoo.com/s/ap/20110527/ap_o...d_monarchy
---------------------
คำแถลงการณ์ของ นปช.กรณีย์อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติของรัฐบาลกษัตริย์เผด็จการ
ที่มา เวบไซต์ Robert Amsterdam
คำแถลงการณ์ของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติกรณีอาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ
26 พฤษภาคม 2554—แกนนำกลุ่มเรียกร้องประชาธิปไตยนปช.ได้ร้องขอให้สำนักงานกฎหมายอัมสเตอร์ดัม แอนด์ พีรอฟฟ์ ยื่นคำร้องเพิ่มเติมต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ(ไอซีซี) ในนามของกลุ่ม เพื่อขอให้ศาลทำการไต่สวนเหตุการณ์ความรุนแรงต่อกลุ่มผู้ชุมนุมในระหว่างเดือนเมษายนและพฤษภาคม ปี 2553 อย่างเป็นอิสระ
เนื่องมาจากปรากฏหลักฐานและคำให้การของพยานใหม่ คำร้องต่อศาลอาญาระหว่างประเทศฉบับใหม่ จะผนวกรายงานล่าสุดของกลุ่มเอ็นจีโอองค์กรด้านสิทธิมนุษยชน อย่างองค์กรฮิวแมนไรท์วอซซ์เข้าไปด้วย เพราะเนื่องจากองค์กรเห็นถึงความพยายามที่สำคัญในการทำความจริงให้ปรากฏ และสร้างความกระจ่างชัดต่อเหตุการณ์สังหารหมู่ที่กรุงเทพมหานคร
กลุ่มนปช.เชื่อว่า คำร้องต่อศาลอาญาระหว่างประเทศฉบับที่สองมีความจำเป็น เนื่องจากมีเหตุการณ์ใหม่หลายเหตุการณ์เกิดขึ้น และทั้งนี้เพื่อจะย้ำให้เห็นถึงเจตจำนงของรัฐบาลไทยที่เพิกเฉยต่อความคืบหน้าในการสอบสวน หรือการดำเนินคดีต่อบุคคลที่มีส่วนรับผิดชอบ รวมถึงการที่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะสั่งให้ปกปิดข้อเท็จจริง
หลายเดือนนับตั้งแต่การยื่นของร้องต่อศาลอาญาระหว่างประเทศครั้งแรก รัฐบาลใช้วิธีการหลบหลีกหลายวิธี โดยเปลี่ยนย้ายความรับผิดชอบภายในหน่วยงานรัฐหลายหน่วย รวมถึงการที่กองทัพยังเสวยสุยกับการไม่ต้องรับผิดใดๆอย่างชัดแจ้ง มีการร่างนโยบายองค์กรโดยการใช้การดำเนินงานแบบคาดเดา และไม่ให้ความร่วมมือกับการสอบสวนถึงกรณีของข้อกล่าวหาอาชญากรรมสงคราม ซ้ำยังแทรกแซงหน่วยงานที่แต่งตั้งโดยรัฐบาลเอง อย่างคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.)
สิ่งที่คนไทยทุกคนรับรู้คือกลุ่มอำมาตย์พยายามที่จะไม่เผชิญหน้ากับความจริงเรื่องเหตุการณ์สังหารหมู่ แม้ว่าจะมีคำแถลงการณ์จากกลุ่มพรรคการเมือง แต่กลุ่มนปช.จะไม่ยอมรับการพูดคุยเรื่องการนิรโทษกรรมจนกว่าความจริงจะปรากฏ และจุดยืนที่หนักแน่นของเราคือ ไม่มีการปรองดองสมานฉันท์ใดที่สามารถเกิดขึ้นได้โดยปราศจากความรับผิด
ประชาชนชาวไทยจะต้องลุกขึ้นต่อต้านการใช้กฎหมายเผด็จการ และเรื่องสองมาตรฐานที่ทำลายการเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตย และจำกัดเสรีภาพการแสดงออกอย่างต่อเนื่องของรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง ด้วยการยึดมั่นแนวทางแสดงหาความจริงและความเป็นธรรมในสังคม อคติอันหยั่งรากลึกและการเซ็นเซอร์ตนเองของสื่อที่จงรักภักดีต่อรัฐบาล ไม่ได้สามารถทำอะไร นอกจากสร้างความมุ่งมั่นให้แก่ที่ปรึกษากฎหมายของกลุ่มนปช.ในความพยายามที่จะอธิบาย และเปิดโปงขวากนามแห่งความอยุติธรรมอย่างเป็นระบบที่ยังคงมีอยู่ในทุกซอกทกมุมของประชาธิปไตยในประเทศไทย
แม้การเลือกตั้งกำลังจะมีขึ้น แต่แกนนำกลุ่มนปช.กลับถูกดำเนินคดีหลายคดี รวมถึง คดีก่อการร้าย ปลุกระดมและหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ มีการสั่งให้ดำเนินคดีจากพรรคผู้นำรัฐบาลด้วยเหตุผลทางการเมือง ทั้งนี้เพื่อพยายามจำกัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวของเรา และปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐานของเราในฐานะพลเมือง ก่อนจะมีเหตุการณ์การกักขังตามอำเภอใจ และจำคุกนักกิจกรรมทางการเมืองที่เคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยโดยมิชอบด้วยกฎหมายอีกครั้ง กลุ่มนปช.ตั้งใจที่จะหาโอกาส แสดงความเห็น และนำเสนอข้อเท็จจริงที่ท้าทายต่อข้อกล่าวหาเรื่องก่อการร้ายของรัฐบาล
รายงานฉบับใหม่ทั้งสามฉบับที่สำนักงานกฎหมายอัมสเตอร์ดัม แอนด์ พีรอฟฟ์เผยแพร่ในวันนี้ ได้รวบรวมข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงระดับของโครงสร้างอคติที่มีอยู่ในระดับสูง รวมถึงการบิดเบือนการใช้ทรัพยากรรัฐของรัฐบาลอภิสิทธิ์เพื่อประกันว่าผลของการเลือกตั้งตกอยู่ประโยชน์ของประชาชนส่วนน้อย
โปรดเข้าร่วมการต่อสู้กับการบิดเบือนการใช้อำนาจของรัฐที่ไร้ประชาธิปไตยและถูกหนุนหลังโดยทหาร
นปช.
คำแถลงการณ์ของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติกรณีอาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ
26 พฤษภาคม 2554—แกนนำกลุ่มเรียกร้องประชาธิปไตยนปช.ได้ร้องขอให้สำนักงานกฎหมายอัมสเตอร์ดัม แอนด์ พีรอฟฟ์ ยื่นคำร้องเพิ่มเติมต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ(ไอซีซี) ในนามของกลุ่ม เพื่อขอให้ศาลทำการไต่สวนเหตุการณ์ความรุนแรงต่อกลุ่มผู้ชุมนุมในระหว่างเดือนเมษายนและพฤษภาคม ปี 2553 อย่างเป็นอิสระ
เนื่องมาจากปรากฏหลักฐานและคำให้การของพยานใหม่ คำร้องต่อศาลอาญาระหว่างประเทศฉบับใหม่ จะผนวกรายงานล่าสุดของกลุ่มเอ็นจีโอองค์กรด้านสิทธิมนุษยชน อย่างองค์กรฮิวแมนไรท์วอซซ์เข้าไปด้วย เพราะเนื่องจากองค์กรเห็นถึงความพยายามที่สำคัญในการทำความจริงให้ปรากฏ และสร้างความกระจ่างชัดต่อเหตุการณ์สังหารหมู่ที่กรุงเทพมหานคร
กลุ่มนปช.เชื่อว่า คำร้องต่อศาลอาญาระหว่างประเทศฉบับที่สองมีความจำเป็น เนื่องจากมีเหตุการณ์ใหม่หลายเหตุการณ์เกิดขึ้น และทั้งนี้เพื่อจะย้ำให้เห็นถึงเจตจำนงของรัฐบาลไทยที่เพิกเฉยต่อความคืบหน้าในการสอบสวน หรือการดำเนินคดีต่อบุคคลที่มีส่วนรับผิดชอบ รวมถึงการที่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะสั่งให้ปกปิดข้อเท็จจริง
หลายเดือนนับตั้งแต่การยื่นของร้องต่อศาลอาญาระหว่างประเทศครั้งแรก รัฐบาลใช้วิธีการหลบหลีกหลายวิธี โดยเปลี่ยนย้ายความรับผิดชอบภายในหน่วยงานรัฐหลายหน่วย รวมถึงการที่กองทัพยังเสวยสุยกับการไม่ต้องรับผิดใดๆอย่างชัดแจ้ง มีการร่างนโยบายองค์กรโดยการใช้การดำเนินงานแบบคาดเดา และไม่ให้ความร่วมมือกับการสอบสวนถึงกรณีของข้อกล่าวหาอาชญากรรมสงคราม ซ้ำยังแทรกแซงหน่วยงานที่แต่งตั้งโดยรัฐบาลเอง อย่างคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.)
สิ่งที่คนไทยทุกคนรับรู้คือกลุ่มอำมาตย์พยายามที่จะไม่เผชิญหน้ากับความจริงเรื่องเหตุการณ์สังหารหมู่ แม้ว่าจะมีคำแถลงการณ์จากกลุ่มพรรคการเมือง แต่กลุ่มนปช.จะไม่ยอมรับการพูดคุยเรื่องการนิรโทษกรรมจนกว่าความจริงจะปรากฏ และจุดยืนที่หนักแน่นของเราคือ ไม่มีการปรองดองสมานฉันท์ใดที่สามารถเกิดขึ้นได้โดยปราศจากความรับผิด
ประชาชนชาวไทยจะต้องลุกขึ้นต่อต้านการใช้กฎหมายเผด็จการ และเรื่องสองมาตรฐานที่ทำลายการเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตย และจำกัดเสรีภาพการแสดงออกอย่างต่อเนื่องของรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง ด้วยการยึดมั่นแนวทางแสดงหาความจริงและความเป็นธรรมในสังคม อคติอันหยั่งรากลึกและการเซ็นเซอร์ตนเองของสื่อที่จงรักภักดีต่อรัฐบาล ไม่ได้สามารถทำอะไร นอกจากสร้างความมุ่งมั่นให้แก่ที่ปรึกษากฎหมายของกลุ่มนปช.ในความพยายามที่จะอธิบาย และเปิดโปงขวากนามแห่งความอยุติธรรมอย่างเป็นระบบที่ยังคงมีอยู่ในทุกซอกทกมุมของประชาธิปไตยในประเทศไทย
แม้การเลือกตั้งกำลังจะมีขึ้น แต่แกนนำกลุ่มนปช.กลับถูกดำเนินคดีหลายคดี รวมถึง คดีก่อการร้าย ปลุกระดมและหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ มีการสั่งให้ดำเนินคดีจากพรรคผู้นำรัฐบาลด้วยเหตุผลทางการเมือง ทั้งนี้เพื่อพยายามจำกัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวของเรา และปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐานของเราในฐานะพลเมือง ก่อนจะมีเหตุการณ์การกักขังตามอำเภอใจ และจำคุกนักกิจกรรมทางการเมืองที่เคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยโดยมิชอบด้วยกฎหมายอีกครั้ง กลุ่มนปช.ตั้งใจที่จะหาโอกาส แสดงความเห็น และนำเสนอข้อเท็จจริงที่ท้าทายต่อข้อกล่าวหาเรื่องก่อการร้ายของรัฐบาล
รายงานฉบับใหม่ทั้งสามฉบับที่สำนักงานกฎหมายอัมสเตอร์ดัม แอนด์ พีรอฟฟ์เผยแพร่ในวันนี้ ได้รวบรวมข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงระดับของโครงสร้างอคติที่มีอยู่ในระดับสูง รวมถึงการบิดเบือนการใช้ทรัพยากรรัฐของรัฐบาลอภิสิทธิ์เพื่อประกันว่าผลของการเลือกตั้งตกอยู่ประโยชน์ของประชาชนส่วนน้อย
โปรดเข้าร่วมการต่อสู้กับการบิดเบือนการใช้อำนาจของรัฐที่ไร้ประชาธิปไตยและถูกหนุนหลังโดยทหาร
นปช.
torsdag 26 maj 2011
เหยื่อรายล่าสุดคดี ๑๑๒
ชาวอเมริกันเชื้อสายไทยตกเป็นเหยื่อ112รายล่าสุด
โดย ทีมข่าวไทยอีนิวส์
26 พฤษภาคม 2554
เหยื่อคดีมาตรา 112 รายล่าสุด เป็นคนไทยสัญชาติอเมริกัน ชื่อภาษาอังกฤษคือ Mr.Joe W.gordon ชื่อไทย นายเลอพงษ์ วิไชยคำมาตย์ ถูกควบคุมตัวอยู่ที่ DSI มา 2 วันเพื่อสอบปากคำ วันนื้เป็นวันที่สอง ในข้อหามาตรา 112
พยานผู้เห็นเหตุการณ์เปิดเผยว่า DSI บุกเข้าจับกุมโจ หรือเลอพงษ์ ที่บ้านพักของเขาที่จังหวัดนครราชสีมาเมื่อวานนี้ (25 พฤษภาคม) ช่วงบ่าย และควบคุมตัวเข้ากรุงเทพฯมาสอบปากคำที่สำนักงาน DSI
โจ-เลอพงษ์ เป็นคนไทยโดยกำเนิด และเดินทางไปพำนักในสหรัฐอเมริกามาประมาณ 30 ปี ได้สัญชาติอเมริกัน เขาถูกDSIควบคุมตัวระหว่างเดินทางกลับเมืองไทยมาเยี่ยมญาติพี่น้อง ล่าสุดได้มีการติดต่อกับทางสถานฑูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยแล้วเมื่อช่วงเช้า โดยทนายความของเขา
"เท่าที่ทราบDSIแจ้งข้อหาโจ-เลอพงษ์คือ กล่าวหาว่าเขากระทำผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ และมาตรา 112 แต่ไม่ทราบรายละเอียด"พยานที่รับทราบเหตุการณ์จับกุมระบุ
จากการสืบสวนข้อมูลในกูเกิ้ลพบว่า โจ-เลอพงษ์เคยเขียนเวบไซต์เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ต้นกำเนิดของประเทศสหรัฐอเมริกา ข้อมูลในการสอบโอนสัญชาติเป็นชาวอเมริกัน รวมภาพถ่ายทิวทัศน์ และธรรมชาติในรัฐโคโลราโด และรัฐใกล้เคียง
นอกจากนั้นข้อมูลจากกูเกิลมีชื่อ เลอพงษ์ วิไชยคำมาตย์ เป็นศิษย์เก่าโรงเรียนจ่าอากาศด้วย
******
onsdag 18 maj 2011
1 ปีรำลึกวันมหาวิปโยค 19 พฤษภาคม 2553
ประชาชนชาวไทยถูกสังหารหมู่เป็นจำนวน 91 ศพและบาดเจ็บอีกกว่า 2000 คน โดยกระสุนพระราชทานจากทหารพระราชาและทหารเสือราชินีที่ราชประสงค์ เหตุการณ์ครั้งนี้ถือว่าเป็การกระทำที่ป่าเถื่อนและเหี้ยมโหดอำมหิตที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย โดยการกระทำของเจ้าของระบอบเผด็จการราชาธิปไตยที่มือชุ่มโชกไปด้วยเลือดของประชาชนชาวไทยที่ได้เลี้ยงดูกษัตริย์และราชวงค์นี้มาหลายชั่วโคตร
ความโหดเหี้ยมและป่าเถื่อนเหล่านี้ได้ประจักษ์ต่อสายตาของประชาชนชาวไทยทั้งชาติและในประชาคมโลก
ขอประชาชนชาวไทยผู้รักชาติรักประชาธิปไตยทั้งหลายจงได้ประนามการกระทำอันป่าเถื่อนและเหี้ยมโหดอันปราศจากมนุษยธรรมนี้ พวกเราจะสืบทอดเจตนารมณ์ของวีรชนผู้กล้าที่เสียชีวิตทุกท่านต่อไป เพื่อโค่นล้มระบอบเผด็จการราชาธิปไตยนี้ลงและสร้างสังคมประชาธิปไตยอันสมบูรณ์ขึ้นในเมืองไทยให้จงได้
19 พค. 2554
โดย กวีศรีประชา
19 พฤษภาคม 2554
หลับเถิดสหาย....
ผู้ข้ามพ้นความตายอย่างเข้มข้น
ตาย แต่ว่า ไม่ตาย ตรึงใจคน
ก่ออิฐบนกำแพงอันแกร่งไกร
อิฐทุกก้อนคือหลักฐานประวัติศาสตร์
สำคัญชาติกัลปาวสานสมัย
อิฐชีวิตเลือดเนื้อและเหงื่อไคล
ไหลเป็นลำน้ำใหญ่อันชื่นเย็น
หลับเถิดสหาย....
เย็นสายลมโปรยปราย แสงดาวเด่น
แม้คืนนี้ร้างเพื่อน ไร้เดือนเพ็ญ
ยังมองเห็นผู้ท้าทวงเข้าช่วงชิง
หลับเถิดสหาย....
จารึก ความตาย อันใหญ่ยิ่ง
น้อมคาระวาลัยจากใจจริง
กราบนักสู้ใจสิงห์ทุกวิญญาณ
สถิตสัมปรายภพ สงบสมัย
สวรรค์ชั้นประชาธิปไตยอันกล้าหาญ
เหนือรุ้งฟ้านิรันดร์อนันตกาล
ทิพยประชาชาญชัยชโย
มรณะเพื่อประโยชน์ประชาราษฎร์
ปลดอำนาจ อำมาตย์ พ้นห่วงโซ่
ถมร่างนองเลือดเนื้อเหงื่อเสโท
โอม.. นโม สดุดี วีรชน.
****
söndag 15 maj 2011
บทกลอนคดีหมิ่น ๑๑๒
คุนสุรชัย แช่ด่าน ผู้นำการต่อสู้ปฏิวัติประชาชนเพื่อประชาธิปไตยคนสำคัญคนหนึ่ง ได้เอาบทกลอนนี้ไปอ่านบนเวทีปราศรัยก่อนถูกจับกุมเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ โดยกฏหมายหมิ่น ๑๑๒ ไม่ทราบว่ามีอะไรในกลอนบทนี้ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ หรือว่าบทกลอนนี้ไปทิ่มแทงหัวใจของบุคคลที่มีอำนาจสูงสุดในประเทศไทยที่ฆ่าคุณสมัครโดยเอายาพิษใส่ในอาหารให้กินจนเป็นโรคมะเร็งในตับตาย
ไม่มีเทวดาบนฟ้า
เมื่อสิ้นรักหักสวาทขาดสะบั้น ก็สิ้นชาติขาดกันแต่เพียงนี้
ที่เคยหลงจงรักและภักดี มาบัดนี้ไม่มีเยื่อไม่เหลือใย
เห็นกงจักรเป็นดอกบัวชั่วชีวิต เคยหลงผิดถึงขั้นตายแทนได้
หลงตามลมชวนเชื่อทุกเมื่อไป บัดนี้ไทยตาสว่างเห็นทางธรรม
เมื่อสิ้นรักหักสวาทขาดสะบั้น ก็จบกันเลิกเลี้ยงชุบอุปถัมภ์
จะตอบแทนให้สาสมโสมมระยำ ให้หลาบจำทำชั่วต้องชดใช้
ไม่มีแล้วเทวดาบนฟ้านี้ และไม่มีเหนือมนุษย์ฉุดรั้งได้
ประเทศชาติประชาชนประชาธิปไตย คือหลักชัยไทยทั้งชาติประกาศพ่วง
เสมือนสวมพระเครื่องอันเรืองเวช ประนมเดชมอบดวงใจให้ทุกสิ่ง
แต่องค์พระกลับเข้าช่วงชิง จนได้รู้ความจริงอันเจ็บใจ
สิ่งที่สูงนั้นกลับต่ำจนตำเนตร ใจสมัครสุนทรเวชจึงหมองไหม้
เฝ้าจงรักภักดีไม่รู้คลาย ขอกัดฟันลาตายไม่ถวายพระพร
lördag 14 maj 2011
Dr. ปรีดี พนมยงค์ บิดาแห่งการปฏิวัติ ๒๔๗๕
Dr. ปรีดี พนมยงค์ บิดาแห่งการปฏิวัติ ๒๔๗๕
เมื่ออายุได้ ๑๘ ปี นายปรีดีพนมยงค์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนกฎหมายและเป็นสมาชิกของเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาได้รับทุนจากกระทรวงยุติธรรมไปศึกษาวิชากฎหมาย ณ ประเทศฝรั่งเศส ระหว่าง ๒๔๖๓- ๒๔๗๐
นายปรีดี พนมยงค์ ถือกำเนิดและเติบโตมาในท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๔๔๓ อันเป็นช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ ในครอบครัวชาวนาจังหวัดพระนครศรีอยุทธยา ชีวิตในวัยเด็กทำให้นายปรีดีได้สัมผัสกับสภาพปัญหาของชาวนา ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในยุคนั้น
“ ผมได้กล่าวแล้วถึงสภาพสังคมไทยที่ผมประสบพบเห็นแก่ตนเองว่าราษฎรได้มีความอัตคัดขัดสนในทางเศรษฐกิจ เพราะไม่มีสิทธิเสรีภาพกับความเสมอภาคในทางการเมือง อีกทั้งตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและอำนาจของหลายประเทศทุนนิยม ผมได้มีความคิดก่อนที่ได้มาศึกษาในฝรั่งเศสแล้วว่าจะต้องค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม ว่าวิธีใดที่จะทำให้ความเป็นอยู่ของราษฎรดีขึ้น “
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ นายปรีดีเป็นผู้นำคณะราษฎรฝ่ายพลเรือน ผู้มีบทบาทมากที่สุดในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เนื่องจากเป็นคนไทยคนแรกที่สำเร็จดุษฎีบัณฑิตกฎหมายจากมหาวิทยาลัยปารีส นายปรีดีจึงให้ความสำคัญกับงานด้านนิติบัญญัติ กับการปกครองเป็นพิเศษ นอกจากจะเป็นผู้ร่างประกาศคณะราษฎรแล้ว ท่านยังเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยามประเทศ ที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย และยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๗๖ ซึ่งมีเนื้อหาจัดรูปแบบการปกครองออกเป็นส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
นายปรีดีมิได้มุ่งหมายเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียงเพื่อให้ได้มาซึ่งระบอบประชาธิปไตยทางการเมืองเท่านั้น หากแสดงเจตนารมณ์และแสดงบทบาทอย่างแจ่มชัดที่จะก้าวไปสู่ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา เหนือสิ่งอื่นใด ท่านปรารถนาที่จะให้ระบอบประชาธิปไตยเป็นบรรทัดฐานในการพัฒนาประชาชาติเล็กๆอย่างสยาม ให้ยืนหยัดอยู่อย่างมีเอกราชและศักดิ์ศรีในทุกด้าน ท่ามกลางนานาอารยประเทศในประชาคมโลกยุคใหม่ เจตนารมณ์ประชาธิปไตยของท่านปรากฎอย่างชัดเจนในหลัก ๖ ประการของ “ ประกาศคณะราษฎร “ ที่ท่านเป็นผู้ร่างขึ้นเพื่อใช้เป็นคำแถลงการณ์ในวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕
หลัก ๖ ประการของ “ ประกาศคณะธราษฎร “
๑ จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่นเอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง
๒ จะต้องรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก
๓ จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
๔ จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน
๕ จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ
๖ จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
นายปรีดี พนมยงค์ เป็นนักการเมืองคนแรกที่ริเริ่มแนวความคิดที่จะให้ราษฎรทุกคนได้รับการประกันสังคมจากรัฐบาล โดยระบุไว้อย่างชัดเจนในหมวดที่ ๓ แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ แต่น่าเสียดายที่ร่างของแนวความคิดดังกล่าวถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ กว่าประเทศไทยจะยอมรับให้มีนโยบายประกันสังคมให้แก่ประชาชนก็เป็นเวลา ๖๐ ปีหลังจากนั้น
นายปรีดีเป็นตัวตั้งตัวตีให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายเป็น “ คณะกรมการกฤษฎีกา “ ทำหน้าที่ร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามพลักดันให้ “ คณะกรรมการกฤษฎีกา “ ทำหน้าที่ “ ศาลปกครอง “ อีกด้วย แนวความคิดในเรื่อง “ ศาลปกครอง “ ของท่านแสดงให้เห็นว่า ท่านต้องการให้ราษฎรสามารถตรวจสอบฝ่ายปกครองได้ และมีสิทธิในทางการเมืองเท่าเทียมกับข้าราชการอย่างแท้จริง นายปรีดีสนับสนุนแนวคิดศาลปกครองมาตั้งแต่ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕
“ ระหว่างที่ข้าพเจ้าศึกษาวิชากฎหมายนั้น ข้าพเจ้าเห็นว่า มหาอำนาจต่างชาติถือสิทธิสภาพนอกอาณาเขตเหนือประเทศสยาม ไม่ว่าจะเป็นทางทฤษฎีหรือทางปฏิบัติ คนในสังคมมหาอำนาจเหล่านี้ไม่ต้องขึ้นศาลไทย เพราะคดีที่มีคู่ความเป็นคนสังกัดต่างชาติเหล่านั้น จะต้องให้ศาลกงสุล หรือศาลคดีระหว่างประเทศตัดสิน ทั้งนี้เป็นไปตามสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาคระหว่างชาติมหาอำนาจกับประเทศสยาม ในศาลคดีระหว่างประเทศ คำวินิจฉัยของผูพิพากษาชาติยุโรปจะมีน้ำหนักมากกว่าคำวินิจฉัยของผู้พิพากษาชาวสยาม ข้าพเจ้าไม่พอใจการใช้อำนาจอธิปไตยเช่นนี้เลย ข้าพเจ้าจึงได้ตัดสินใจที่จะทำทุกอย่างเพื่อให้ได้มาซึ่งเอกราชของชาติอันสมบูรณ์ โดยมีอำนาจอธิปไตยของตนอย่างเต็มเปี่ยม “
เมื่อภารกิจด้านการปกครองกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว นายปรีดีเข้ามาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เพื่อเป็นผู้นำในการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคที่รัฐบาลสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ทำไว้กับประเทศต่างๆ ในนามของสนธิสัญญาทางไมตรี พานิชย์ และการเดินเรือ เป็นจำนวน ๑๒ ประเทศ ซึ่งเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของคณะราษฎรในหลัก ๖ ประการที่จะต้อง “ รักษาความเป็นเอกราชของประเทศไว้ให้มั่นคง “ หลักการใหญ่ๆ ซึ่งนายปรีดี พนมยงค์ สามารถแก้ไขในสนธิสัญญาไม่เสมอภาคได้สำเร็จ คือสิทธิสภาพนอกอาณาเขต แต่เดิมคนในบังคับของต่างประเทศไม่ต้องขึ้นศาลสยาม ทำให้สยามสูญเสียเอกราชในทางศาล นอกจากนี้ต่างประเทศยังบังคับให้รัฐบาลสยามเรียกเก็บภาษีขาเข้าได้เพียงไม่เกินร้อยละ ๓ เท่านั้น ทำให้เก็บรายได้ไม่เต็มที่ นับเป็นการเสียเอกราชทางเศรษฐกิจที่จำต้องแก้ไข
นายปรีดีได้ใช้ยุทธวิธีบอกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศคู่สัญญา และได้ยื่นร่างสนธิสัญญาฉบับใหม่ที่สยามได้เอกราชและอธิปไตยสมบูรณ์ให้ประเทศเหล่านั้นพิจารณา นายปรีดีได้ใช้ความอุตสาหะพยายามเจรจา โดยอาศัยหลัก “ ดุลยภาคแห่งอำนาจ “ จนประเทศนั้นๆ ยอมทำสนธิสัญญาใหม่ที่สยามได้เอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ทั้งในทางการเมือง ในทางศาล และในทางเศรษฐกิจ
เมื่อนายปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการครัง ( พ.ศ. ๒๔๘๑- ๒๔๘๔ ) ได้ปฏิบัติภารกิจเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคมคือ
๑ ยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ อันเป็นเงินส่วยที่ราษฎรไพร่ต้องเสียให้แก่เจ้าศักดินา
๒ ยกเลิกอากรค่านาซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินาสูงสุดที่ถือว่าที่ดินทั้งหลายทั่วราชอาณาจักรเป็นของประมุขของสังคม
๓ จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดยสถาปนา “ ประมวลรัชฎากร “ เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง ผูใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมาก และถ้าผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จำเป็นแก่การดำรงชีพ ก็ต้องเสียภาษีอากรมากตามลำดับ
๔ การร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ เพื่อให้มีการใช้งบประมาณแผ่นดินที่มาจากภาษีอากรของราษฎรอย่างรัดกุม และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ
ในช่วงเวลาที่นายปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แม้จะเป็นช่วงที่ใกล้เข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ ๒ แล้วก็ตาม แต่เสถียรภาพทางการเงินและการคลังของสยามนับว่ามั่นคงที่สุดยุคหนึ่ง ด้วยการเล็งการณ์ ไกลของท่าน ได้ทำให้เสถียรภาพของเงินบาทมั่นคง กล่าวคือเมื่อก้าวเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ ๒ นายปรีดีคาดคะเนว่าเงินปอนด์ที่เป็นเงินทุนสำรองเงินตราอาจจะไม่มีเสถียรภาพจึงได้นำเงินปอนด์จำนวนหนึ่งไปซื้อทองคำเป็นจำนวนน้ำหนักประมาณ ๑ ล้านออนซ์ ในราคาออนซ์ละ ๓๕ เหรียญสหรัฐฯ และได้นำทองคำนั้นมาเก็บไว้ในห้องนิรภัยกระทรวงการครัง ซึ่งยังคงรักษาไว้เป็นทุนสำรองเงินบาทอยู่จนปัจจุบัน
ทันที่ที่กองทัพญี่ปุ่นบุกเข้าประเทศไทย เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ ผู้นำเผด็จการทหารของไทยเวลานั้นเข้าร่วมกับญี่ปุ่นประกาศสงครามกับสัมพันธมิตรสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ นายปรีดีได้อาศัยฐานะของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ทำการประสานความสามัคคีของคนไทยทุกฝ่ายทั้งภายในประเทศและนอกประเทศ นับตั้งแต่พระบรมวงศานุวงค์ ทหาร ตำรวจ ข้าราชการพลเรือน นิสิตนักศึกษา ปัญญาชน กรรมกร ชาวไร่ชาวนา ทำงานกู้ชาติบ้านเมืองในนามของขบวนการเสรีไทย โดยมีท่านเป็นหัวหน้า มีชื่อจัดตั้งว่า รูธ ภารกิจของขบวนการเสรีไทยคือร่วมมือกับคนไทยและสัมพันธมิตรต่อสู้ญี่ปุ่นผู้รุกราน และปฏิบัติการให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองว่าเจตนารมณ์ที่แท้จริงของราษฎรไทยไม่เป็นศัตรูต่อฝ่ายสัมพันธมิตร เพื่อหวังผลให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองว่าไทยเป็นรัฐเอกราชไม่ตกเป็นประเทศแพ้สงคราม
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ นายปรีดีได้ใช้ความรู้ความสามารถเจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครองโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้ประเทศไทยเป็นเอกราชมาจนถึงทุกวันนี้ และท่านมีส่วนสำคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ ๕๕ ของสหประชาชาติ ซึ่งเป็นองค์การของผู้ชนะสงครามโลกในเวลานั้น ต่อมาเมื่อวันที่ ๘ ธันวา ๒๔๘๘ มีพระบรมราชองการ ยกย่องนายปรีดี พนมยงค์ ไว้ในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษและนพรัตน์ราชวราภรณ์ อันเป็นชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับ
๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ รัชกาลที่ ๘ เสด็จสวรรคต นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรีได้ขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อันเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันติวงค์ต่อไป และรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ เสร็จการประชุมรัฐสภา นายปรีดีได้ขอลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยเหตุผลว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีได้เสด็จสวรรคตเสียแล้ว
( นายสุภา ศิริมานนท์ นักหนังสือพิมพ์อาวุโส ได้กล่าวใน สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ๘ พฤษภาคม ๒๕๒๖)
“ ผมเห็นว่าชีวิตของท่านมีสองอย่าง คือถ้าไม่มีท่าน ไทยจะไม่มีประชาธิปไตยและไม่มีเอกราช เพราะท่านตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นมา เพื่อไม่ให้ไทยชื่อว่าเป็นประเทศแพ้สงคราม ส่วนกรณีสวรรคตนั้น ยังเป็นเรื่องที่ต้องสะสางกันต่อไป เป็นการใส่ร้ายป้ายสี ใครที่บังอาจกล่าวเรื่องนี้ต้องแพ้คดีในศาลหมด “
๗ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ พลโท ผิน ชุณหะวัณ และทหารบางกลุ่มได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือน ซึ่งมีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี และใช้กำลังทหารประกอบด้วยรถถังและอาวุธทันสมัยระดมยิงเข้าไปในทำเนียบท่าช้างเพื่อจับตัวนายปรีดีซึ่งเป็นเพียงรัฐบุรุษอาวุโส เป็นผลให้นายปรีดีต้องหนีตายไปสิงคโปร์ และแม้ว่านายปรีดีได้รวบรวมกลุ่มผู้รักชาติในนามของขบวนการประชาธิปไตย ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๒ เข้าต่อสู้กับคณะรัฐประหาร แต่ก็ประสบความพ่ายแพ้ ทำให้นายปรีดีต้องลี้ภัยไปอยู่ประเทศจีน เหตุการณ์ครั้งนั้นนับเป็นการปิดฉากการปกครองระบอบประชาธิปไตย และส่งผลให้อำนาจมืดครอบงำการเมืองไทยไปอีกยาวนาน.
( ที่มาจาก สารคดี ฉบับพิเศษ คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์ พฤษภาคม ๒๕๔๓ )
onsdag 11 maj 2011
การเลือกตั้งภายใต้ระบอบราชาธิปไตย หรือระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช
ประชา ประสพดี...งานนี้เพิ่งเริ่มต้น
คอลัมน์ เมืองไทยหรือเมืองใคร?
เรื่อง ประชา ประสพดี...งานนี้เพิ่งเริ่มต้น
โดย กาหลิบ
นับว่าโชคดีที่ คุณประชา ประสพดี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ รอดชีวิตมาได้จากการลอบสังหารที่พระประแดง อันเป็นเรื่องที่ชี้ไปสู่ปมการเมืองอย่างชัดแจ้ง เรื่องนี้จะเป็นโชคดีหรือฝ่ายตรงข้ามต้องการเพียง “ส่งสัญญาณเตือน” ผ่านกรณีคุณประชาฯ เรายังไม่ทราบชัด ที่ชัดคือ กรณีนี้เป็นคำเตือนอีกครั้งสำหรับผู้ที่นึกฝันว่าการเลือกตั้งครั้งนี้จะบริสุทธิ์ ยุติธรรม ปลอดจากอำนาจรัฐแทรก จะได้ตระหนักเสียทีว่า “ระบอบ” ที่ครอบ “ระบบ” เลือกตั้งนั้นเป็นฉันใด
มัวแต่นั่งตอบอย่างเท่ว่า รู้ว่าสู้กับใคร แต่ไม่อยากจะพูดให้โง่ สุดท้ายอาจไปเท่อยู่บนสวรรค์โน่น
ไม่ใช่ความลับอันใดที่ฝ่ายตรงข้ามเตรียม “เก็บ” ผู้นำฝ่ายประชาธิปไตยเป็นจำนวนมาก และเขารู้ดีว่าโอกาสของเขาคือในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ๓ ก.ค. ขณะนี้จึงมีมืออาชีพถูกเรียกตัวเข้า “รับงาน” เป็นจำนวนมากกว่าปกติ
สถานการณ์การเมืองไทยชัดเจนว่าเป็นระยะเผชิญหน้ากันระหว่างระบอบเก่ากับระบอบประชาชนซึ่งกำลังก่อรูปขึ้นอย่างช้าๆ แต่มั่นคง การเลือกตั้งเที่ยวนี้เป็นเพียงบทพิสูจน์ว่าทั้งสองฝ่ายจะอยู่ร่วมกันได้บ้างหรือไม่ในระบอบเดิม
ถ้าไม่มีอะไรนอกบท ก็อาจจะร่วมเตียงกันไปชั่วระยะหนึ่ง แต่ต่างฝ่ายต่างก็จะระแวงกันจนรัฐบาลพังลงในที่สุด
ถ้าเล่นนอกบทและชัดแจ้ง เช่น ใบแดงมากผิดปกติ แย่งชิงจัดตั้งรัฐบาลอย่างไร้มารยาททางการเมือง เดินหน้ายุบพรรคฝ่ายประชาธิปไตย ยุขบวนประท้วงข้างถนนให้รบกับรัฐบาล เป็นต้น รัฐบาลนั้นก็จะถึงแก่กาลกิริยาในลักษณะที่ไม่ต่างจากครั้งคุณสมัคร สุนทรเวชและคุณสมชาย วงศ์สวัสดิ์ และก็จะมีคนออกมาป่าวประกาศเรียกประชาชนออกมารวมตัวกันสู้กับเขาอีก
เงื่อนไขของการลุกขึ้นสู้เมื่อพินาศแล้วนี่เอง ทำให้เขาต้อง “เก็บ” คนหลายคนเสียก่อนที่วันนั้นจะมาถึง
แกนนำที่มีชื่อเสียงก็มีอันตราย แต่ผู้ที่จะอันตรายกว่าคือแกนนำประชาธิปไตยระดับท้องถิ่นที่ไม่เป็นที่รู้จักเท่าคนบนเวทีและออกโทรทัศน์ช่องแดง ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการระดมมวลชน และถูกเชิญจากพรรคฝ่ายประชาธิปไตยให้ไปช่วยเลือกตั้งกันเป็นจำนวนมากในขณะนี้
ผู้นำประชาธิปไตยท้องถิ่นที่มีฐานะปานกลางถึงยากจน ย่อมไม่มีงบประมาณจ้างคนมาอารักขา แต่จะต้องออกเดินสายทั่วไปในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ เปิดโอกาสให้ฝ่ายตรงข้ามเข้าทำร้ายได้มาก
ฝ่ายตรงข้ามเขารู้ว่าตรงนี้เป็นกลไกสำคัญ ถ้าเขาเก็บแกนนำท้องถิ่นได้ เขาก็กดหัวชาวบ้านให้อยู่ในความกลัวได้
อย่าลืมเป็นอันขาดว่ากลุ่มพลังต่างๆ ในฝ่ายประชาธิปไตยขึ้นอยู่กับแกนนำท้องถิ่นผู้เสียสละและกล้าหาญเหล่านี้ทั้งสิ้น เราเห็นขบวนประท้วงที่มีผู้คนล้นหลาม ทั้งน่าชื่นใจและน่าครั่นคร้ามสำหรับฝ่ายตรงข้าม เราต้องไม่ลืมบทบาทของแกนนำท้องถิ่นที่อดตาหลับขับตานอนและทำให้การระดมพลังเช่นนี้เกิดขึ้นได้ทุกครั้งคราว
ขอเตือนว่า ตัวแทนในระดับชาติของพรรคฝ่ายประชาธิปไตย โดยเฉพาะผู้สมัคร ส.ส. มีหน้าที่ในการคุ้มครองดูแลให้ความปลอดภัยอย่างดีที่สุดสำหรับแกนนำท้องถิ่นในพื้นที่ของตน การประกันอย่างสมบูรณ์นั้นย่อมทำได้ยาก แต่อย่างต่ำต้องวางแผนและรับรู้ซึ่งกันและกันมากกว่าทุกครั้งที่ผ่านมา เพื่อลดโอกาสและความเสี่ยงอันตรายจากฝ่ายตรงข้าม ซึ่งมีทั้งคู่แข่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงที่แอบแฝงตัวอยู่ในพื้นที่
อย่าเอามือดีไปล้อมรอบตัวเองไม่รู้จักกี่รอบจนดูคล้ายเจ้าพ่อมาเฟีย ในขณะที่แกนนำสำคัญของตัวต้องเดินล่อนจ้อนปราศจากกลไกป้องกันตัวใดๆ ต้องแบ่งกำลังมาดูแลกันบ้าง
การยิงคุณประชา ประสพดีแล้วรอดได้ แปลว่า ฝ่ายตรงข้ามคงกำลังทบทวนบทเรียนของในรายต่อๆ ไปให้ได้ผลยิ่งขึ้นสำหรับเขา จะไปคิดประมาทว่ามือไม่ถึงหรือขาดความสามารถไม่ได้
ข่าวลือลอยลมมาว่า ในรายชื่อมี ๑๒๐ คน หรือมากกว่านั้นบ้าง ก็ควรสดับตรับฟังด้วยสติ
เลือกตั้งครั้งนี้มีเดิมพันสูงกว่าทุกคราว เพราะจะยืนยันว่าระบอบใดคืออนาคตของลูกหลานไทยกันแน่ ฝ่ายตรงข้ามเขาก็ย่อมระดมสรรพกำลังเพื่อพิสูจน์ว่าฝ่ายประชาชนเป็นผู้ผิด
สุนัขจนตรอกยังอันตรายนี่ครับ.
-----------------------------------------------------------------------------------
เหยื่ออีกรายที่โดนกฏหมายหมิ่น " เหี้ย " 112
ดร. สมศักดิ์ เจียมฯ รับทราบข้อกล่าวหาพร้อมกำลังใจและกองทัพนักข่าว - ปฏิเสธข้อกล่าวหา พร้อมสู้คดี
ขอบคุณภาพจากมติชน
ที่มา ประชาไท
11 พฤษภาคม 2554
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล รับทราบข้อกล่าวหา 112 ที่ สน.นางเลิ้ง ท่ามกลางประชาชน-สื่อไทย-เทศรอทำข่าว เบื้องต้นปฏิเสธข้อกล่าวหา พร้อมสู้คดี ฝากติดตามผู้ต้องหาที่ไม่ได้สิทธิประกันตัวด้วย ด้านทหารอากาศที่โดนข้อหาโพสต์หมิ่นในเฟซบุ๊ก ดอดให้กำลังใจ
(11 พ.ค.54) เวลาประมาณ 09.30น. ที่ สน.นางเลิ้ง สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เดินทางเข้ารับทราบข้อกล่าวหามาตรา 112 ของประมวลกฎหมายอาญา ตามที่ได้รับหมายเรียก โดยมีอาจารย์จากกลุ่มนิติราษฎร์ คือ สาวตรี สุขศรี และปิยบุตร แสงกนกกุล ร่วมเป็นพยานในการรับทราบข้อกล่าวหา นอกจากนี้ มีประชาชนซึ่งส่วนใหญ่สวมเสื้อสีแดงมาร่วมให้กำลังใจราว 50-60 คน พร้อมทั้งนักข่าวไทยและต่างประเทศที่มารอทำข่าวจำนวนมาก
สำหรับกิจกรรมในบริเวณ สน. มีการชูป้ายให้กำลังใจนายสมศักดิ์ รวมทั้งตะโกน "No Lese Majeste Law" ด้วย นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการร้องเพลงหมู่ ที่นำโดย จิ้น กรรมาชน
จากนั้น เวลาประมาณ 11.00น. สมศักดิ์ได้เดินออกมาจากห้องพนักงานสอบสวนพร้อมทั้งชี้แจงต่อผู้สื่อข่าวว่า วันนี้เดินทางมารับทราบข้อกล่าวหา มาตรา 112 ซึ่งกองทัพบกเป็นผู้รองทุกข์กล่าวโทษ จากกรณีที่ตนได้เขียนบทความภาษาไทยเกี่ยวกับการให้สัมภาษณ์ของเจ้าฟ้าหญิง จุฬาภรณ์ 2 ชิ้น ซึ่งเผยแพร่ในเว็บไซต์ต่างๆ ราวปลายเดือนมีนาคม-เมษายน โดยในชั้นนี้ยังไม่ต้องมีการประกันตัว เบื้องต้นได้ปฏิเสธข้อกล่าวหาและพร้อมต่อสู้ในชั้นต่อไป โดยจะทำคำให้การอย่างเป็นทางการส่งให้เจ้าหน้าที่ภายในสองสัปดาห์นี้ เบื้องต้นมีศรัทธา หุ่นพยนต์ เป็นทนายความเฉพาะหน้า
ผู้สื่อข่าวถามว่า มีความมั่นใจในการสู้คดีมากน้อยเพียงใด สมศักดิ์ตอบว่า ค่อนข้างมั่นใจมากในต่อสู้คดี เพราะมาตรา 112 ไม่ได้ครอบคลุมถึงกรณีบทความของตน
ผู้สื่อข่าวถามว่า การที่กองทัพบกเป้นผู้ฟ้องคดีเอง ไม่ใช่ประชาชนทั่วไป สะท้อนสภาวะการเมืองอย่างไรหรือไม่ สมศักดิ์กล่าวว่า อยากให้ตั้งข้อสังเกตเช่นกันว่ากองทัพมีหน้าที่ปกป้องประเทศตามนโยบายรัฐบาล แล้วการฟ้องคดีนี้เป็นหน้าที่ของกองทัพหรือไม่
ผู้สื่อข่าวถามว่า การถูกดำเนินคดีนี้จะทำให้ลดบทบาทตนเองในการแสดงความเห็นหรือบรรยายสาธารณะ เกี่ยวกับบทบาทสถาบันฯ หรือไม่ สมศักดิ์บอกว่า การฟ้องคดีนี้อย่างครอบจักรวาลในหลายกรณีทำให้ผู้คนหวาดกลัวที่จะพูด ในกรณีของตนนั้น ต้องทบทวนดูก่อน ทั้งนี้ ตั้งข้อสังเกตว่ามีแนวโน้มในระยะหลังว่ารัฐใช้กฎหมายนี้อย่างพร่ำเพรื่อ ทั้งที่บางทีก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่พูดหรือแสดงความเห็น
ต่อคำถามว่า คิดว่าจะได้รับความเป็นธรรมในการดำเนินคดีหรือไม่ สมศักดิ์กล่าวว่า ยังไม่ค่อยแน่ใจ อย่างการเอ็กเซอร์ไซส์ของกองทัพทุกวันในระยะนี้ก็เป็นเรื่องที่นอกเหนือ กฎหมาย
ทั้งนี้ สมศักดิ์ กล่าวทิ้งท้ายว่า "อยากฝากให้ช่วยกันติดตามคดีของหลายๆ ท่าน อย่างคุณสมยศ อากง หรือใครก็ตามที่ไม่ได้รับการประกันตัวเลย ทั้งที่เป็นกระบวนการเริ่มแรก สิทธิในการประกันตัวเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานในทางสากล อยากให้ทุกท่านช่วยกันติดตามกรณีเหล่านี้ด้วย"
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ระหว่างที่สมศักดิ์เดินทางกลับ ประชาชนที่มาให้กำลังใจได้มอบดอกกุหลาบสีแดงให้กำลังใจพร้อมทั้งตะโกนว่า "อาจารย์เป็นตัวแทนของพวกเรา เป็นสัญลักษณ์ของพวกเรา ที่จะต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย" "พวกเราจะอยู่เคียงข้างอาจารย์สมศักดิ์ๆ" ซึ่งสมศักดิ์ได้กล่าวขอบคุณผู้มาให้กำลังใจพร้อมย้ำอีกครั้งว่าให้ช่วย ติดตามกรณีของคนอื่นๆ ที่ไม่ได้รับสิทธิในการประกันตัวด้วยเช่นกัน
ทหารอากาศที่โดนข้อหาโพสต์หมิ่นในเฟซบุ๊ก ร่วมให้กำลังใจด้วย
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายทหารอากาศนายหนึ่ง ยศนาวาอากาศตรี ซึ่งถูกกองทัพอากาศแจ้งความดำเนินคดีเมื่อวันที่ 4 พ.ย.53 กรณีที่มีการร้องเรียนจากนายทหารเรือนายหนึ่งว่าทหารอากาศผู้นี้โพสต์ข้อ ความในเฟซบุ๊กที่อาจเข้าข่ายหมิ่นสถาบัน ได้เดินทางมาให้กำลังใจสมศักดิ์ด้วย โดยผู้สื่อข่าวต่างประเทศให้ความสนใจกับคดีของเขาอย่างมาก
เขาให้สัมภาษณ์ว่า คดีของตนเอง ศาลทหารได้ให้พิจารณาเป็นการลับ และจะมีการสืบพยานโจทก์นัดแรก 14 ก.ค. ขณะนี้ ตนเองถูกสั่งพักราชการแล้วตั้งแต่วันที่ 12 เม.ย. หลังจากถูกสำรองราชการกว่า 6 เดือน
เขาแสดงความเห็นว่า มาตรา 112 เป็นการนำมาใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองในการนำมาจัดการกับผู้ที่มีความ เห็นต่างจากผู้มีอำนาจ เขายอมรับว่ากรณีของเขามีการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในเฟซบุ๊กจริง แม้ว่าในแง่ของทหารแล้ว การวิจารณ์รัฐบาลเป็นการผิดระเบียบเพราะเป็นการวิจารณ์ผู้บังคับบัญชา แต่เขาวิจารณ์ในฐานะประชาชนคนหนึ่ง ส่วนการเชื่อมโยงไปถึงมาตรา 112 ค่อนข้างมั่นใจว่าจะสู้คดีได้ โดยยกตัวอย่างว่าเพราะเพียงแต่โพสต์เพลงถั่งโถมโหมแรงไฟ ก็ถูกนำไปเชื่อมโยงเป็นความผิดแล้ว
ผู้สื่อข่าวถามว่า เคยเข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองก่อนหน้านี้หรือไม่ เขาตอบว่าไม่เคยเข้าร่วม เมื่อถูกถามว่า อะไรเป็นจุดเปลี่ยนให้หันมาคานผู้มีอำนาจ เป็นเพราะรัฐประหารหรือไม่ เขาตอบว่า รู้สึกเฉยๆ กับการรัฐประหาร เพราะรู้อยู่แล้วว่าต้องเกิดขึ้น ส่วนจุดเปลี่ยนที่ทำให้ทนไม่ได้ คือการฆ่าประชาชนของรัฐบาลเมื่อเม.ย.ปีที่แล้ว เพราะตนเป็นทหารประชาธิปไตย
Thailand is the main problem in ASEAN
By Dr. Phitaya Pookaman
Respect for ASEAN Process
No one would deny that the most recent Thai-Cambodian border conflict has put Thailand in a bad light in the eyes of ASEAN and the world community, whilst Cambodia has managed to portray itself as a respectable and law abiding member. It would be all too easy to point accusing fingers at the Abhisit Government and the abrasive Thai Foreign Minister for the failure of Thai foreign policy vis-?-vis the Cambodia issue in the context of ASEAN and the international community.
Since the United Nations had mandated Indonesia, as ASEAN Chairman, to mediate the settlement of the border conflict between Thailand and Cambodia, the Thai government has not been very forthcoming in accepting the Indonesian mediation, let alone the stationing of Indonesia observers on its soil by citing technicalities. On the other hand, Cambodia has shown its willingness (at least in words) to accept mediation by ASEAN Chairman by declaring that it seeks peaceful settlement of this border dispute based on the principles of international law and the spirit of the ASEAN Charter and treaties as well as other related agreements. So, while Thailand is still struggling on how to come to terms with ASEAN mediation, Cambodia has scored points. Cambodia has lost no time in commending the efforts by Indonesia to dispatch observers to the area of the Pra Viharn (Preah Vihea) Temple in order to monitor the ceasefire in accordance with the UN mandate. Meanwhile, the Thai Foreign Ministry and the Thai Defence Ministry are still at loggerheads on the issue of deployment of observers and the GBC. When Indonesia finalized the Terms of References (TORs) for deploying the observers, Cambodia signed the Acceptance Letter on May 3rd to put the TORs into effect. Thailand has not yet accepted the TORs and still continues to put up conditions and technicalities. For ASEAN and the international community, the Thai Government’s procrastination and dubious moves could be interpreted by ASEAN members as the lack of willingness to settle the border dispute with Cambodia in accordance with ASEAN process and UN mandate.
Using bilateral mechanism may be a preferred method of resolving the border dispute but it has not hitherto made any significant progress. Moreover, the adoption of the 3 records of the meetings of the Thai-Cambodian Joint Border Committee (JBC) have not yet been approved by Thailand. The Thai government is still at a loss as to which government agency has the authority over the matter. It is still hamstrung by the 2007 Constitution that requires Parliamentary approval. Therefore, the Thai government should use all avenues available, whether they be bilateral or multilateral, to achieve a settlement of the border dispute before the issue takes on an international dimension which will be too much for Thailand to handle. The Thai-Cambodian conflict presents a great challenge to ASEAN. It can act as an obstacle to ASEAN Community to be realized in 2015. ASEAN has many mechanisms to resolve regional conflicts: The Treaty of Amity and Cooperation, the ASEAN Regional Forum (ARF), ASEAN Institute for Peace and Reconciliation, and ASEAN Summit. Thailand should engage them as much as possible to enhance peace, security, and stability in the region.
Respect for ASEAN Process
No one would deny that the most recent Thai-Cambodian border conflict has put Thailand in a bad light in the eyes of ASEAN and the world community, whilst Cambodia has managed to portray itself as a respectable and law abiding member. It would be all too easy to point accusing fingers at the Abhisit Government and the abrasive Thai Foreign Minister for the failure of Thai foreign policy vis-?-vis the Cambodia issue in the context of ASEAN and the international community.
Since the United Nations had mandated Indonesia, as ASEAN Chairman, to mediate the settlement of the border conflict between Thailand and Cambodia, the Thai government has not been very forthcoming in accepting the Indonesian mediation, let alone the stationing of Indonesia observers on its soil by citing technicalities. On the other hand, Cambodia has shown its willingness (at least in words) to accept mediation by ASEAN Chairman by declaring that it seeks peaceful settlement of this border dispute based on the principles of international law and the spirit of the ASEAN Charter and treaties as well as other related agreements. So, while Thailand is still struggling on how to come to terms with ASEAN mediation, Cambodia has scored points. Cambodia has lost no time in commending the efforts by Indonesia to dispatch observers to the area of the Pra Viharn (Preah Vihea) Temple in order to monitor the ceasefire in accordance with the UN mandate. Meanwhile, the Thai Foreign Ministry and the Thai Defence Ministry are still at loggerheads on the issue of deployment of observers and the GBC. When Indonesia finalized the Terms of References (TORs) for deploying the observers, Cambodia signed the Acceptance Letter on May 3rd to put the TORs into effect. Thailand has not yet accepted the TORs and still continues to put up conditions and technicalities. For ASEAN and the international community, the Thai Government’s procrastination and dubious moves could be interpreted by ASEAN members as the lack of willingness to settle the border dispute with Cambodia in accordance with ASEAN process and UN mandate.
Using bilateral mechanism may be a preferred method of resolving the border dispute but it has not hitherto made any significant progress. Moreover, the adoption of the 3 records of the meetings of the Thai-Cambodian Joint Border Committee (JBC) have not yet been approved by Thailand. The Thai government is still at a loss as to which government agency has the authority over the matter. It is still hamstrung by the 2007 Constitution that requires Parliamentary approval. Therefore, the Thai government should use all avenues available, whether they be bilateral or multilateral, to achieve a settlement of the border dispute before the issue takes on an international dimension which will be too much for Thailand to handle. The Thai-Cambodian conflict presents a great challenge to ASEAN. It can act as an obstacle to ASEAN Community to be realized in 2015. ASEAN has many mechanisms to resolve regional conflicts: The Treaty of Amity and Cooperation, the ASEAN Regional Forum (ARF), ASEAN Institute for Peace and Reconciliation, and ASEAN Summit. Thailand should engage them as much as possible to enhance peace, security, and stability in the region.
tisdag 10 maj 2011
Free Somyot Pruksakasemsuk
The person is a long time labor activist who has been involved in the pro democracy movement, who believe that workers rights/movement is un separate able from the struggle for guinea democracy.
On 29 April 2011, he and other members of Democracy Net work had express their stands of submitting the 10,000 signatures to call for abolish of Lese Majeste law , as its against principle of freedom of expression.
It is gathering 10,000 signatures to revoke Article 112 through Parliament as allowed by the constitution
According to Somyot in the press conference that was held yesterday in Bangkok , Democracy Network are campaigning to abolish the lèse majesté law, or Article 112 of the Criminal Code, as it has been politically abused
- As the National election suppose to come soon in June 2011. There are increasing actions of crackdown to dissenting voices since weeks ago:such as:
- 1) closure of the community radio and arrest of the person in charge
- 2) increasing use of Lese Majeste Law/ Criminal code –article 112 to arrest academician , pro democracy activists and also UDD key leaders
- 3) Implementation of curfew in the key areas of protest in Bangkok
All these are signs of the strong signal and intention of the current military back Thai government is not going to respect a free and fair election and also keen on reconciliation for peace. These brutal actions on the crackdown the pro democracy forces has showed that coming election seem to be a :window show” of “democracy” that they want to show to the world.
It is common that all the fascist state in the world, when their power are in threat, they will do all types of suppression before the so called “ democracy-parliamentary election”. In fact, they had put all their opponents either in jail, or force to be in exile or afraid to speak. Therefore, these hostile behaviors had showed that they are not keen to build peace via peaceful manner and respect the rule of democracy.
Hence, it is time for the international community to voices its protest to the arrest of Somyot and also to demand guinea democracy to be in place and military should not intervene in politics and misused of the Lese Majeste law.Also it is time to abolish the Lese Najeste Law/CC Article 112 that against the basic human rights of Freedom of Expression and Thoughts!
Here is the letter from prison written from Somyot- 2 May 2011:
“I would not be the last victim as long as we are still trapped in the rule which is essentially a dictatorship, but is falsely portrayed as a democracy to the world. I shall fight for freedom until my last breath. I may agree to shed my freedom, but not my humanity.” Somyot Pruksakasemsuk Holding cell, Crime Suppression Division, Bangkok 8.30 am, May 2, 2011
Short Bio about Somyot:
Somyot Pruksakasemsuk says:” I wanna sacrifice my liberty, but not my humanity! “ ( the written declaration was being written ,before he was detained on 26 May 2010, Bangkok,Thailand)
Read Here:
Read here, the latest news of arrest of Somyot Phrueksakasemsuk .
Somyos: without freedom, humans are not human
Mon, 02/05/2011 – 14:28 | by prachataiDSI arrests key red-shirt member
Lawyer seeks bail for Somyot
Democracy Network campaign for 10,000 signatures to repeal lèse majesté law
“Fascism” and the Thai state
Arrest of Somyos Pruksakasemsuk
press statement of the 112 (lese majeste law) awareness campaign -a group who call upon the amendment of the law. and stop misused of the LML as a tool to suppress dissenting voices
Prenumerera på:
Inlägg (Atom)