fredag 30 april 2021

น่าอนาถ..จาก “มหาชนโมเดล” กลายเป็น "ขี้ข้ารับใช้ฝุ่นใต้ตีน"

สมศักดิ์ เจียม@somsakjeam

29 juli 2017 

พูดแบบเบาๆ อย่างต่ำๆ ต้องเรียกว่า "ไม่มีมารยาท" แต่ความจริง แย่ยิ่งกว่านั้นอีก....

พูดแบบเบาๆ อย่างต่ำๆ ต้องเรียกว่า "ไม่มีมารยาท"
แต่ความจริง แย่ยิ่งกว่านั้นอีก
สังคม-รัฐ ทุ่มเงินมหาศาลจัดงานวันเกิดให้ แต่เจ้าของวันเกิด "ไม่ give a damn" ไม่แคร์ ไม่ให้เกียรติกับประชาชน แม้แต่เพียงด้วยการจะอยู่ในประเทศ (ซึ่งความจริง ควรต้องอยู่เป็นหลักอยู่แล้ว ไม่งั้น เป็นประมุขทำไม) และเหตุที่ไม่อยู่นี่ ก็ใช่ว่า เพราะมีความจำเป็น มีภารกิจของประเทศชาติอะไร เปล่า ใครๆก็รู้ว่า ไปสำราญบานใจ ผลาญเงินราษฎรในต่างประเทศ
เอาแต่ได้ฝ่ายเดียวจริงๆ รวบอำนาจ ยึดเอาสมบัติที่พูดมาหลายปีว่าเป็นของแผ่นดิน เป็นของส่วนตัว ใช้งบประมาณของรัฐตามใจชอบ ไม่ยอมให้ใครยุ่งเกี่ยว
น่าสมเพช น่าสลดกับประเทศไทย ประชาชนไทย
...............
ปล. นึกถึงที่เมื่อเช้า บทความคุณพี่ อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ของผม พยายามเขียนแสดงความภาคภูมิใจได้มีส่วนร่วมฉลอง "วันพระราชสมภพรัชกาลที่ 10 ครั้งแรก" ... เหอๆ ที่เขาทำนี่ เหมือนตบหน้า-ถ่มน้ำลายใส่พวกคุณพี่อเนกและประชาชนขนาดไหน
 
....................................................

(หมายเหตุ- ควันหลงกิจกรรม"กราบรูป"เทอดพระเกียรติจงรักภักดีร.10 "แผลบๆ".
เรื่อง"นานาจิตตัง" ต้องปล่อยวาง  บทพิสูจน์ตัวตนที่แท้จริงพวกของปลอมลายลอก "ไร้ค่าไร้ราคา" ที่ยอมจำนนเป็นทาสรับใช้ฝุ่นใต้ตีนด้วยความสมัครใจไม่มีใครบังคับ...
เป็นเรื่องปกติธรรมดาของการเดินทางต่อสู้เรียกร้องเพื่อระบอบประชาธิปไตย  ที่ไม่มีมิตรแท้และศัตรูถาวร  
ทุกยุคสมัย
จากอดีตจนถึงปัจุบันมักมีพวกฉวยโอกาส"ไร้อุดมการณ์" ร่วมแจมด้วยเสมอมาไม่เคยเปลี่ยนแปลง.. ฉะนั้นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจะสำเร็จได้  ทุกคนต้องมีจิตใจแน่วแน่มั่นคงยึดมั่นในการปกครองของระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริงเท่านั้น  )
............................................................
บีบีซีไทย - BBC Thai
9 tim

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษาฯ "ได้มีบัญชา" ให้อธิการบดี ม.ธรรมศาสตร์ และ ม.มหิดล ชี้แจงว่าจะสอบจรรยาบรรณอาจารย์ที่ยื่นขอประกันนักศึกษาที่ถูกกล่าวหาในดคี 112 ได้หรือไม่

แกนนำ ศปปส. ให้เหตุผลว่านักวิชาการทั้ง 8 คน "ไม่อยู่ในครรลองคลองธรรม และจรรยาบรรณของครูอาจารย์" หลังแสดงตัว....

เอนก เหล่าธรรมทัศน์: ปฏิกิริยาต่อ "คำบัญชา" เรื่องการสอบสวนอาจารย์ยื่นประกันจำเลย ม.112

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

ที่มาของภาพ, Thai News Pix

คำบรรยายภาพ,

หลังจากเรียกเสียงฮือฮาด้วยการประกาศว่าประเทศไทยจะสร้างยานอวกาศไปดวงจันทร์ ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รมว. กระทรวงการอุดมศึกษาฯ เป็นข่าวอีกครั้งด้วยการรับข้อร้องเรียนให้สอบสวนนักวิชาการที่ใช้ตำแหน่งขอประกันลูกศิษย์ที่เป็นจำเลยคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

นักวิชาการผู้เป็นนายประกันให้ลูกศิษย์ที่ตกเป็นจำเลยคดี 112 ระบุ "ไม่ให้ราคา" กับคำสั่งของ ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ที่ "ได้มีบัญชา" ให้อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ชี้แจงว่าจะสอบจรรยาบรรณคณาจารย์ทั้ง 8 คนหรือไม่

มีรายงานว่านักวิชาการ 8 คนนี้ เป็นนักวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ 7 คน และ ม.มหิดล 1 คน

ดร.พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์ อาจารย์ประจำสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล ซึ่งเป็นหนึ่งในนักวิชาการ 8 คนที่ถูกอาจถูกตั้งกรรมการสอบสวนกล่าวกับบีบีซีไทยว่าเธอมั่นใจว่าสิ่งที่เธอทำ คือการเป็นนายประกันให้นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษาหรือ "ไผ่ ดาวดิน" ลูกศิษย์ในหลักสูตรปริญญาโท เป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว เพราะอาจารย์มีหน้าที่ต้องปกป้องสิทธิด้านการศึกษาของลูกศิษย์ รวมทั้งยืนยันในสิทธิที่จะได้รับการประกันตัวในคดีอาญา ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน

ขณะที่ น.ส.ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นนายประกันให้พริษฐ์ ชิวารักษ์หรือ "เพนกวิน" ลูกศิษย์ที่ลงเรียนวิชาทฤษฎีว่าด้วยการเมืองและสังคมและวิชาสัมมนาความรุนแรงและการไม่ใช้ความรุนแรงทางการเมืองที่เธอสอน บอกว่าไม่มีปัญหาอะไรที่จะถูกสอบสวนและถือเป็นโอกาสดีที่จะได้อธิบายให้ผู้บริหารหรือแม้แต่ รมว.การอุดมศึกษาฯ เข้าใจถึงอุดมการณ์ของความเป็นครูและสิทธิขั้นพื้นฐานของพลเมือง ซึ่งเป็นเหตุผลพื้นฐานที่ทำให้เธอตัดสินใจเป็นนายประกันให้ลูกศิษย์

กลุ่มอาจารย์มหาวิทยาลัยที่สอนนักศึกษาแกนนำกลุ่ม "ราษฎร" ซึ่งถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดี ม.112 เข้ายื่นอุทธรณ์คำสั่งขอประกันตัวนักศึกษา

ที่มาของภาพ, Thai News Pix

คำบรรยายภาพ,

กลุ่มอาจารย์มหาวิทยาลัยที่สอนนักศึกษาแกนนำกลุ่ม "ราษฎร" ซึ่งถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดี ม.112 เข้ายื่นอุทธรณ์คำสั่งขอประกันตัวนักศึกษาที่ศาลอาญาเมื่อวันที่ 12 มี.ค.

เปิดคำบัญชา รมว.อว.

หนังสือฉบับนี้ลงนามโดยนายดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง เลขานุการ รมว.อว. เมื่อ 29 เม.ย. ก่อนส่งตรงถึงสถาบันอุดมศึกษา 2 แห่ง

นายดวงฤทธิ์กล่าวกับบีบีซีไทยว่า เอกสารที่เผยแพร่ในสื่อมวลชนและสื่อสังคมออนไลน์เป็น "ของจริง" โดยถือเป็นการปฏิบัติตามระเบียบราชการปกติ หลังมีผู้มายื่นเรื่องร้องเรียนกับทางกระทรวง จึงมีหน้าที่ต้องทำหนังสือสอบถามไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่าเรื่องนี้มีต้นสายปลายเหตุความเป็นมาอย่างไร และมีระเบียบราชการกำหนดไว้ชัดเจนว่าอธิการบดีของทั้ง 2 มหาวิทยาลัยต้องมีหนังสือชี้แจงตอบกลับมาภายในกี่วัน

ก่อนหน้านี้เมื่อ 16 มี.ค. ประชาชนผู้เป็นสมาชิกของกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า "ศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน" หรือ ศปปส. ราว 50 คน ได้เดินทางไปกระทรวง อว. ถนนพระรามหก เพื่อยื่นหนังสือถึง รมว.อว. ขอให้พิจารณาสอบจรรยาบรรณของอาจารย์ที่ปกป้อง-ยื่นขอประกันตัวกลุ่มนักศึกษาที่มีพฤติกรรมจาบจ้วงสถาบันพระมหากษัตริย์ จำนวน 8 คน โดยมีเลขานุการรัฐมนตรี และนายจักษ์ พันธ์ชูเพชร ที่ปรึกษารัฐมนตรี เป็นตัวแทนรับเรื่อง

แกนนำ ศปปส. ให้เหตุผลว่านักวิชาการทั้ง 8 คน "ไม่อยู่ในครรลองคลองธรรม และจรรยาบรรณของครูอาจารย์" หลังแสดงตัวปกป้องนักศึกษา 3 คนที่มีพฤติกรรมจาบจ้วง ก้าวล่วง หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ และตกเป็นจำเลยคดี 112 และ 116 ตามประมวลกฎหมายอาญา

อ้างต้องส่งหนังสือถึงมหาวิทยาลัย ไม่เช่นนั้น ศปปส. "ไม่ยอมหยุด"

นายดวงฤทธิ์กล่าวว่า หัวหนังสือที่ อว. ส่งถึงอธิการบดี มธ และ ม.มหิดล ก็ "เป็นคำของ ศปปส. เขา" ไม่ใช่การไปตัดสินกลุ่มนักศึกษา แต่เมื่อมีผู้ร้องเรียนมาด้วยข้อหาเหล่านี้ ทาง อว. จึงต้องสอบถามทางมหาวิทยาลัยว่าความจริงเป็นอย่างไร และมาเทียบเคียงว่าสิ่งที่อาจารย์ทำถูกหรือไม่ ถ้าถูก สังคมก็จะจะได้รับรู้รับรับทราบว่าทำถูก ถ้าผิด ก็ต้องมีมาตรการลงโทษ

"ผมจะได้ตอบทางผู้ร้องเรียนเขาได้ เพราะคนเราถ้ามาร้องเรียนแล้วไม่มีใครสนใจ เขาก็ไม่ยอมหยุด ก็ต้องไปต่อ ต้องไปหาที่พึ่ง" เลขานุการ รมว.อว. กล่าว

นอกจากสถานะรัฐมนตรี ศ.พิเศษ เอนกยังเป็นอดีตรองอธิการบดี และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มธ. จึงน่าสงสัยว่าจะมีผลกดดันการให้ความเห็นของ มธ. หรือไม่

เกี่ยวกับเรื่องนี้ เลขานุการ รมว.อว. ปฏิเสธว่า "ไม่มี ไม่ได้กดดัน" เพราะรัฐมนตรีได้พูดคุยและประชุมกับอธิการบดีมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อยู่เกือบตลอด เนื่องจาก อว. ยุคปัจจุบันเน้นการทำงานเป็นทีม นอกจากประเด็นเดราม่าที่ปรากฏทางสื่อสังคมออนไลน์ ก็ยังมีงานที่ อว. ร่วมกับมหาวิทยาลัยเตรียมความพร้อมเพื่อช่วยเหลือประชาชน เช่น การจัดตั้ง รพ.สนาม รองรับผู้ป่วยโควิด-19

บีบีซีไทยได้โทรศัพท์ติดต่อ ศ.พิเศษ เอนก เพื่อสอบถามความเห็นต่อการออกหนังสือถึง 2 มหาวิทยาลัยดัง แต่ไม่สามารถติดต่อได้ โดยเลขานุการ รมว.อว. ชี้แจงแทนว่า รมว.อว. ร่วมประชุมกับอธิการบดีสถาบันต่าง ๆ เพื่ออัพเดทสถานการณ์โควิด-19 อย่างไรก็ตามเขาได้รายงานให้รัฐมนตรีรับทราบข้อมูลและเสียงสะท้อนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแล้ว และคิดว่า ศ.พิเศษ เอนกมีจุดยืนในการทำงาน เรื่องนี้เป็นเพียงการปฏิบัติหน้าที่ตามขั้นตอนปกติเท่านั้น พร้อมฝากสังคมให้พิจารณาความเห็นให้ครบทุกฝั่ง เพราะถ้าไปดูฝั่งหนึ่งก็จะเห็นแต่มุมลบในทวิตเตอร์หรือเพจเฟซบุ๊ก แต่สำหรับกลุ่มที่มาร้องเรียน ก็มีความเห็นในมุมบวก

กลุ่ม ศปปส.

ที่มาของภาพ, PAris Jitpentom/BBC Thai

คำบรรยายภาพ,

กลุ่ม ศปปส. จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มี.ค.

พร้อมทำแบบเดียวกันกรณี อานนท์ นิด้า

ส่วนที่นักวิชาการบางส่วนที่เป็นอดีต "ลูกศิษย์" ของ ศ.พิเศษ เอนก ออกมาตั้งคำถามเรื่องจิตวิญญาณและมโนสำนึกในฐานะคนเป็นครูที่ต้องการเอานักศึกษาออกจากเรือนจำ นายดวงฤทธิ์ปฏิเสธจะให้คำตอบแทนรัฐมนตรีได้ แต่พูดในเชิงหลักการว่าตั้งแต่แรกที่ตัดสินใจรับราชการหรือเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ สิ่งหนึ่งที่เราต้องมีคือเลื่อมใส่ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ ทุกคนที่จะเข้ารับราชการต้องยึดถือสิ่งนี้

ในอนาคตหากประชาชนอีกกลุ่มยื่นหนังสือขอให้ อว. พิจารณาสอบจรรยาบรรณของ ผศ.ดร. อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์ อาจารย์ประจำคณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) กรณีออกมาสนับสนุนการรัฐประหารและใช้ความรุนแรงกับประชาชน ทาง อว. ก็จะส่งหนังสือถึงนิด้าให้สอบสวนเรื่องนี้ใช่หรือไม่

เลขานุการ รมว.อว. ตอบว่า เป็นขั้นตอนเดียวกัน ก็ต้องปฏิบัติตามระเบียบราชการ ต้องถามนิด้าว่าเรื่องราวมาเป็นมาอย่างไร

"ไม่ได้ให้ราคา"

ดร.พัทธ์ธีรา อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล ซึ่งนายจตุภัทร์กำลังศึกษาในระดับปริญญาโทกล่าวว่า เธอยังไม่ได้รับการติดต่อจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยในเรื่องนี้ และ "ไม่ได้ให้ราคา" กับคำบัญชาของรัฐมนตรี เพราะเชื่อมั่นว่าเธอทำในสิ่งที่ถูกต้อง

ดร.พัทธ์ธีราวิจารณ์ว่าแทนที่ ศ.พิเศษ ดร.เอนกจะสั่งให้มหาวิทยาลัยสอบสวนอาจารย์ที่เป็นนายประกันให้นักศึกษา เขาควรจะทำในสิ่งที่ตรงกันข้ามกัน

"อ.เอนกเป็นครูบาอาจารย์มาก่อน แล้วก็เคยใช้สิทธิเสรีภาพทางวิชาการเพื่อทำอะไรมากมาย ได้ประโยชน์จากเสรีภาพนี้จนได้เป็นศาสตราจารย์ ได้มานั่งเป็นรัฐมนตรี ดังนั้นสิ่งที่คุณควรทำคือออกมายืนยันปกป้องสิทธิเสรีภาพทางวิชาการ ออกมาส่งเสริมว่าครูอาจารย์ต้องมีอุดมการณ์ ต้องปกป้องลูกศิษย์" ดร.พัทธ์ธีรากล่าว

อาจารย์ด้านสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษาที่เป็นครูมานานกว่า 20 ปี รับเป็นนายประกันให้นายจตุภัทร์ หลายครั้ง รวมทั้งครั้งล่าสุด แม้ไม่ได้ใช้ตำแหน่งอาจารย์ช่วยยื่นประกันตัว แต่เธอก็ได้ขึ้นให้การเป็นพยานต่อศาล และสุดท้ายนายจตุภัทร์ก็ได้รับการประกันตัวเมื่อวันที่ 23 เม.ย.

จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา

ที่มาของภาพ, Thai News Pix

คำบรรยายภาพ,

จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา ยิ้มอย่างมีความสุขในวันที่เขาได้รับการประกันตัวเมื่อวันที่ 23 เม.ย. เขาอยู่ในเรือนจำตั้งแต่วันที่ 8 มี.ค.

"สิทธิทางการศึกษาซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กทุกคน และประเทศชาติจะเดินหน้าได้ต้องอาศัยเด็กที่มีการศึกษาเหล่านี้ โดยเฉพาะการศึกษาด้านสิทธิมนุษยชนและสันติภาพซึ่งเมืองไทยเราขาดแคลนมาก "

"โดยส่วนตัวคิดว่าไผ่มีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาและทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและสิทธิชุมชน เขาเคลื่อนไหวมาตั้งแต่อยู่ชั้น ม.5 ซึ่งประเทศชาติต้องการคนแบบนี้" ดร.พัทธ์ธีรากล่าวพร้อมกับแสดงความเป็นห่วงอนาคตทางการศึกษาของนายจตุภัทร์ เนื่องจากสองภาคการศึกษาที่ผ่านมา การถูกจับกุมดำเนินคดีทำให้เขาแทบไม่ได้เข้าเรียน และต้องสอบซ่อมในหลายวิชา ขณะที่ปีการศึกษาหน้าเขาจะต้องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์แล้ว

อาจารย์วัย 48 ปีบอกว่าเหตุผลหนึ่งที่ไม่หวั่นไหวกับการร้องเรียนให้มีการสอบสวนเป็นเพราะได้รับความสนับสนุนทั้งจากผู้บริหารและเพื่อนอาจารย์ที่สถาบันสิทธิมนุษยชนฯ

"พอได้ข่าวว่ารัฐมนตรีขอคำชี้แจงในเรื่องนี้ ผู้บริหารและอาจารย์ในสถาบันฯ ต่างก็ส่งข้อความมาให้กำลังใจ สนับสนุนในสิ่งที่เราทำ และเห็นว่าเป็นสิ่งที่ควรต้องทำอย่างยิ่ง"

"หน้าที่เราไม่ใช่แค่สอนหนังสือ รับเงินเดือน กลับบ้าน"

อาจารย์ชญานิษฐ์ แห่งคณะรัฐศาสตร์ มธ. บอกกับบีบีซีไทยว่าขณะนี้มีนักศึกษารัฐศาสตร์ที่ถูกหมายเรียกและถูกดำเนินคดีทางการเมืองทั้งหมด 5 คน เพนกวินเป็นเพียงคนเดียวที่ถูกจองจำอยู่ในขณะนี้ โดยเธอรับเป็นนายประกันให้เพนกวินซึ่งเป็นลูกศิษย์ของเธอใน 2 วิชาที่เขาลงเรียนในเทอมนี้ แต่ไม่มีโอกาสได้เข้าเรียน

อาจารย์ชญานิษฐ์ยังไม่ได้รับการติดต่อหรือเอกสารใด ๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้จากผู้บริหารมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกัน

"ถ้าสอบสวนก็ไม่เป็นไร มันอาจจะเป็นโอกาสให้เราได้อธิบายถึงเหตุผลที่เราทำ" เธอบอกกับบีบีซีไทย

อาจารย์ชญานิษฐ์อธิบายถึง "เหตุผล" นั้นว่า

"เราเป็นอาจารย์สอนหนังสือ เป็นครู หน้าที่ของครูหรือของเพื่อนมนุษย์คนหนึ่งต้องทำไปควบคู่กัน ไม่ใช่แค่สอนหนังสือเสร็จแล้วรับเงินเดือนแล้วกลับบ้าน แล้วสิ่งที่เราทำในฐานะครูและพลเมืองคนหนึ่งคือเราเรียกร้องสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาที่จะได้รับการประกันตัวในคดีที่ศาลยังไม่ตัดสินว่ามีความผิด มันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาจะได้รับการประกันตัวออกมาเพื่อเตรียมข้อมูลต่าง ๆ ในการต่อสู้คดี เราไม่ได้เรียกร้องอะไรเป็นสิทธิพิเศษสำหรับเพนกวินหรือลูกศิษย์ของเราคนอื่น ๆ"

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์

ที่มาของภาพ, พรพิบูล รักธรรม/งานสื่อสารองค์กร คณะรัฐศาสตร์ มธ.

คำบรรยายภาพ,

อาจารย์ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ยังไม่มีโอกาสได้สอน "เพนกวิน" ในภาคการศึกษานี้ เพราะเขาอยู่ในเรือนจำเกือบตลอด

เธอแปลกใจว่า "การเรียกร้องให้กระบวนการยุติธรรมไทยกระทำตามหลักการของกฎหมายที่พึงกระทำมันกลายเป็นปัญหาไปได้อย่างไร"

การเป็นอาจารย์ผู้สอนเพนกวินทำให้เธอมีโอกาสได้ทำในสิ่งที่ควรจะทำ นั่นก็คือใช้ตำแหน่งอาจารย์เป็นนายประกันให้ลูกศิษย์

"บ่อยครั้งที่เราต้องถูกผลักเข้าไปอยู่ในสถานการณ์ที่เราต้องตัดสินใจเลือกว่าจะทำสิ่งที่ถูกต้องแต่อาจได้รับผลกระทบ หรือเลือกอยู่เฉย ๆ แต่ปลอดภัย ต้องขอบคุณเพนกวินที่ทำให้ดิฉันได้พิสูจน์หลักจริยธรรมของตัวเอง ไม่ต่างจาก อ.เอนกที่กรณีนี้ก็ผลักให้ท่านต้องตัดสินใจว่าจะทำอย่างไรเช่นกัน ซึ่งท่านก็ได้เลือกแล้วว่าจะทำแบบนี้" 

เอนก กับสุเทพ

 

เพนกวิ้น รพ.รามาธิบดี

เพนกวิ้น รพ.รามาธิบดี

BildBild 

Thai E-News

เมื่อศาลทำตัวไม่เป็นที่เคารพ ถ้าเราปฏิเสธไม่แสดงความเคารพศาล อะไรจะเกิดขึ้น ศาลไทยจะอยู่อย่างไร ?!?


Sarayut Tangprasert
10h ·

ในศาล เวลาผู้พิพากษามานั่งบัลลังก์ จ่าศาลจะบอกให้ทุกคนยืนเคารพ แล้วรอให้ศาลสั่งให้นั่ง เราถึงจะนั่งลงได้
.
สงสัยว่า ถ้าเราปฏิเสธ ไม่ยืนเคารพศาล จะได้หรือไม่ ถ้าปฏิเสธแล้ว จะถือเป็นความผิดหรือไม่ จะใช้กฏหมายมาตราไหน จะถูกลงโทษแค่ไหนอย่างไร
.
ไม่ได้เรียนกฏหมายมาเลยไม่รู้
.
แต่ถ้าถามถึงความรู้สึกแล้ว การยืนเคารพศาล ถือเป็นพิธีกรรมในกระบวนการพิจารณาคดีที่ไร้สาระมากๆ เพราะสิ่งที่ทำให้เราเห็นอยู่ในปัจจุบัน ศาลไม่ได้มีความเป็นธรรมให้กับประชาชนแต่อย่างใด
.
ก็ลองคิดดูว่า สิทธิในการประกันตัว ที่ถือว่าเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ศาลยังไม่สามารถยึดถือหลักเกณฑ์เหตุผลพื้นฐานข้อนี้ไว้ได้แต่อย่างไร
.
แล้วทำไม ประชาชนถึงต้องแสดงความเคารพศาล
.

ก็ในเมื่อศาลทำตัวไม่น่าเคารพ
.....


Thanapol Eawsakul
2h ·

ศาลไทยจะอยู่อย่างไร แม้แต่นักศึกษานิติศาสตร์ ยังไม่เคารพคำตัดสิน
...................
แถลงการณ์ : คณะกรรมการนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรื่อง เรียกร้องให้ศาลตระหนักถึงจุดยืนบนหลักกฎหมายและความยุติธรรม
https://www.facebook.com/lawtustudentcommittee/posts/3849603171825857
คณะกรรมการนิสิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ขอเรียกร้องให้ศาลใช้อำนาจประกอบดุลพินิจของท่านเพื่อความชอบด้วยกฎหมายวิธีการพิจารณาคดี และคงไว้ซึ่งความยุติธรรมขององค์กรตุลาการอย่างแท้จริง
https://www.facebook.com/LawChulaSociety/posts/1717945601710211

 

กษัตริย์ฆาตกรปีศาจในร่างคนสั่งขังคนไม่ให้ประกัน เป็นตัวอันตรายต่อชาติเป็นภัยต่อสังคมและต่อมนุษยชาติประเทศไทยล่มสลายเพราะกษัตริย์อสุรกายวิกลจริต

 


LIVE! #TalkingThailand ประจำวันที 30 เมษายน 2564

 

LIVE! บรรยากาศชาวเตรียมอุดมจัดกิจกรรม ยืน หยุด ขัง

 

#Overview ประจำวันที่ 30 เมษายน 2564

VOICE TV

 

#Overview ประจำวันที่ 30 เมษายน 2564

 

Wake Up Thailand - มายด์ชี้ไม่ควรมีใครถูกขังเพราะคิดต่างจากรัฐ ถามประเทศเราเหลือความยุติธรรมแค่ไหน?


 

ขอแสดงความยินดีกับกษัตริย์กุสตาฟครบรอบ 75 ปี คุณทำตัวเป็นกษัตริย์ที่ดีมาก

ในวันครบรอบ 75 ปีกษัตริย์กุสตาฟแยกตัวไปอยู่บ้านพักร้อนกับภรรยา ราชินีซิลเวีย ทำงานทุกอย่างผ่านดีกิต้อลฉีดวัดซีนเมื่อถึงเวลา ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีในช่วงเวลาโรคระบาดโควิด- 19 วันนี้เขาอายุครบ 75 ปี

ขอแสดงความยินดีด้วยกับกษัตริย์ !!!

ประเทศสวีเดนมีระบอบกษัตริย์ปกครองมาเป็นระยะยาวนานพันปีมาแล้วกษัตริย์องค์ปัจจุบันได้ขึ้นครองราชย์มาเป็นเวลา 48 ปีนับเป็นเวลานานที่สุดของรัชสมัย ในช่วงเวลาที่ผ่านมาอันยาวนานมีบางครั้งบางคราวที่ถูกตั้งคำถามเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์แต่ก็ไม่ได้ทำให้สถาบันกษัตริย์ต้องถึงกับสั่นคลอนแต่อย่างใด

มหาวิทยาลัยโกเต็นเบริกได้ทำการประเมินผลแต่ละปีถึงความนิยมของประชาชนต่อสถาบันกษัตริย์ถึงแม้ว่าจะมีแนวความคิดแบบอนาธิปไตยเกิดขึ้นก็สามารถพูดได้ว่าไม่ได้ทำให้สถาบันกษัตริย์ต้องสั่นคลอนแต้อย่างได

เมื่อ 45 ปีที่แล้วมาทีประชากรที่ต้องการระบอบประธานาธิบดีเพียง 9 เปอร์เซ็นต์

สี่ทศวรรษต่อมามีจำนวนเพิ่มขึ้น 20 เปอร์เซ็นต์

ในเวลาปัจจุบันมีประชากรทีต้องการให้มีสถาบันกษัตริย์ 56 เปอร์เซ็นต์

ในวันครบรอบ 75 ปี พระองค์ไม่ประสงค์ให้มีพิธีเฉลิมฉลองใดๆทั้งสิ้นพร้อมห้ามนำของกำนันใดๆมาถวายพระองค์อย่างเด็ดขาดและขอบริจากเงินส่วนพระองค์ให้แก่องค์การ State Mission ทั่วประเทศ. 

นี้คือกษัตริย์ของประเทศสวีเดนที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่กษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ต่างกับกษัตริย์ในระบอบเผด็จการของประเทศไทย !!.  


 Grattis kungen, du gör det bra

Önskar sig bidrag till Stadsmissionen i 75-årspresent

PUBLICERAD:I DAG  07.05

UPPDATERAD:I DAG  10.14

KOLUMNISTER



H​an isolerade sig på landet med Silvia. Sköter nästan allting digitalt. Vaccinerade sig så fort det gick.

Kungen har skött sig exemplariskt under coronaåret.

I dag fyller han 75. Grattis, kungen!

Sverige har varit en kungamakt i över tusen år. Kungen är den senaste monarken i raden. Han har redan suttit i rekordmånga år, 48, den hittills längsta regenttiden i vårt land.

Från tid till annan ifrågasätts monarkin, trots dess långa historia som statsskick i Sverige. Det har hittills aldrig skakats i sina grundvalar.

Som-institutet vid Göteborgs universitet mäter årligen medborgarnas inställning till olika samhällsfrågor. Trots den anakronism man ändå måste säga att den ärvda makten är kan kungen fira sin födelsedag utan att marken gungar under varken hans eller hans ättlingars fötter.

För 45 år sedan ville 9 procent införa republik. Nära fyra årtionden senare hade siffran ökat till 20.

2003 ville 15 procent avskaffa monarkin. 15 år senare var det 21 procent.

Under samma period minskade dem som vill behålla monarkin med 12 procentenheter till 56 procent.

Ett minskande stöd alltså. Men fortfarande mycket stabilt.

Kungens uppträdande under coronapandemin har varit oklanderligt, skriver Lena Mellin.



FOTO: PONTUS LUNDAHL/TT

Kungens uppträdande under coronapandemin har varit oklanderligt, skriver Lena Mellin.

Kungen kan, precis som vi andra, titta tillbaka på ett år helt dominerat av coronan. Hans uppträdande har varit oklanderligt.

Han isolerade sig tillsammans med hustrun Silvia på landstället, slottet Stenhammar i Sörmland.

På ett tidigt stadium, redan i mitten av mars, höll kungen ett offentligt inledningstal vid en extra konselj med regeringen på Slottet. Det är mycket ovanligt. Budskapet var: Håll dig till restriktionerna, det försöker jag göra.

Några veckor senare höll han ett tal till nationen från biblioteket på Stenhammar. Budskapet: Bit ihop, håll ut.

På slottet i den lantliga exilen vaccinerades han också mot covid-19 och som ett föredöme lät han sig fotograferas med upprullad skjortärm.

Vad kan man begära av en statschef? Att han sköter jobbet digitalt. Och det har Carl XVI Gustaf gjort.

Kanske är det så att monarkin som statsskick framstår från sin bästa sida under kriser som coronapandemin. Kungen behöver inte ta några politiska hänsyn, inte snegla på nästa val. Han kan nöja sig med att verka vara en hygglig, förnuftig och ansvarsfull prick.

Har du glömt att kungen trampade i klaveret i slutet av förra året genom att säga att coronan var ett misslyckande?

Nej, jag har inte glömt det. Men jag anser inte att det var en fadäs, ett snedsteg. Att så många blev sjuka och dog i äldreomsorgen, som jag uppfattar att kungen syftade på, hade både coronakommissionen, Löfven och rader av experter redan sagt. Hade kungen däremot hävdat att det fungerat bra hade det varit uppseendeväckande.

 Födelsedagen firas såklart också digitalt och så tråkig som sådana arrangemang ofta blir.

Mottagning med talmannen, Stefan Löfven, Sveriges kommuner och landsting och en representant för landshövdingarna på förmiddagen.

Salut vid lunch på fem ställen i Sverige. Och så en mindre mottagning för försvaret på eftermiddagen.

Statschefen vill inte ens ha in presenter på Slottet, det kan ge upphov till en icke önskvärd trängsel. Gåvor avböjs vänligen men bestämt. I stället föreslår regenten insättningar till Stadsmissionen för ”att hjälpa fler behövande runtom i Sverige”.

Kungens valspråk är ”För Sverige i tiden”. Vad säger hans uppmaning om vår tid? Ganska mycket tycker jag.

 

ฤาฟางเส้นสุดท้าย จากกรณีเพนกวิน ?

เรื่องเล่าข่าว การเมืองออนไลน์ 

 

|30 -04| : จาก "โควิดกระจอก" มาถึง " #RIPน้าค่อม" บอกอะไรสังคมไทย? #ผนงรจตกม

 

ข่าวภาคดึก 30-04 |02.30น.| : พม่าล่าสุด, ฤาฟางเส้นสุดท้าย จากกรณีเพนกวิน ?

..........................................................

บีบีซีไทย - BBC Thai

2 tim

แม่เพนกวินโกนหัวประท้วงทวงความยุติธรรมให้ลูก
.
นางสุรีย์รัตน์ ชิวารักษ์ มารดาของนายพริษฐ์ ชิวารักษ์ หรือเพนกวิน ตัดสินใจโกนหัวประท้วงหน้าศาลอาญา ถ.รัชดา ช่วงบ่ายวันนี้ (30 เม.ย.) เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่บุตรชายที่ไม่ได้อนุญาตให้ประกันตัว หลังยื่นคำร้องไปถึง 9 ครั้ง
.
“แม่สุ” หลั่งน้ำตาอยู่เกือบตลอดเวลา หลังจากน้องสาวของเพนกวินเริ่มตัดผมดำยาวของเธอที่รวบไว้เป็นหางม้าและโผเข้ากอดแม่ ก่อนที่เยาวชนหญิงอีกคนจะใช้แบตเตอเลี่ยนค่อย ๆ ไถผมออก จนศีรษะเกรียน โดยประชาชนที่มารวมตัวหน้าศาลบางส่วนถึงกับกลั้นน้ำตาเอาไว้ไม่อยู่ และร่ำไห้ไปกับมารดาของเพนกวินด้วย
.
มารดาเพนกวินกล่าวว่า ขอให้ทุกท่านเป็นพยาน ดิฉันเป็นแม่ของคน ๆ หนึ่ง ลูกดิฉันไม่ได้ทำอะไรผิด ลูกดิฉันแค่มีความเห็นต่าง ลูกดิฉันไม่มีอิสรภาพในการพูด ลูกดิฉันถูกจองจำอยู่ในเรือนจำโดยที่ยังไม่ถูกตัดสินว่าผิด
.
"ขอให้ทุกคนจงจดจำ แล้วก็ต่อสู้เพื่อความยุติธรรม เราต้องขจัดความอยุติธรรมออกไปจากสังคมของเรา อย่าให้ต้องมีใครสูญเสีย หรือเจ็บปวดเหมือนครอบครัวของเราอีก" นางสุรีย์รัตน์กล่าว
.
นายพริษฐ์ แกนนำกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า “ราษฎร” ผู้ต้องขังระหว่างรอการพิจารณาคดีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112, มาตรา 116 และอีกหลายข้อหา ตัดสินใจอดอาหารประท้วงนาน 46 วันแล้ว หลังต้องใช้ชีวิตภายในเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ
.
ล่าสุด “แม่สุ” ในทรงผมเกรียน พร้อมด้วยทนายความได้เข้ายื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวนายพริษฐ์อีกเป็นครั้งที่ 10 โดยให้เหตุผลว่าต้องการให้ลูกความได้ฟื้นฟูร่างกาย และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม

Kan vara en närbild av en eller flera personer och text där det står ”THAI NEWS PIX”     

        Kan vara en bild av en eller flera personerKan vara en bild av barn och text där det står ”THAI NEWS PIX”  

       + 2

ทำไม... วชิราลงกรณ์ไม่ต้องการปล่อยตัวจำเลย?

ในหนังสือที่จำเลยทำต่อศาลนั้นได้ย้ำว่า "จำเลยจึงขอศาลได้มีคำสั่งอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวจำเลย ทั้งนี้ หากศาลเห็นสมควรกำหนดเงื่อนไขใดที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาคดี ขอศาลกำหนดเงื่อนไขดังกล่าวนั้นด้วย โดยจำเลยยินดีจะปฏิบัติตามคำสั่งของศาล" คำถามคือวชิราลงกรณ์ไม่ต้องการปล่อยตัว?

Bild

ถ้าเพนกวิ้นเป็นอะไรไป....


"น่าเกลียด, สกปรก, เลวร้าย... และเป็นกษัตริย์"
 
พาดหัวรายงานเรื่องวชิราลงกรณ์ของ "เลอ มง" ฉบับตีพิมพ์กระดาษ "ดุ" มาก
(ขอบคุณ "มิตรสหายท่านหนึ่ง" อย่างสูงที่ช่วยแจ้งและจัดหาไฟล์อิเล็คโทรนิคให้)
ผมก็เพิ่งรู้ว่า รายงานของ "เลอ มง" เรื่องวชิราลงกรณ์ที่ผมโพสต์เมื่อเช้ามืดวันนี้(เวลาไทย) - ดูกระทู้ที่แล้ว https://t.co/uMma0dPTr5
ในฉบับพิมพ์กระดาษ พาดหัว "ดุ" กว่าฉบับทางเว็บเสียอีก
Affreux, sale, méchant... et roi.
แปลเป็นอังกฤษ ประมาณว่า "Ugly, dirty, bad ... and king."
หรือเป็นไทย ทำนองที่จั่วเป็นหัวกระทู้ข้างบนแหละ
ฉบับพิมพ์นี้ อยู่ใน "แม็กกาซีน" ซึ่งแถมมากับฉบับวันเสาร์เมื่อวาน

รามา 10: กษัตริย์องค์ใหม่ของไทยผู้มีพฤติกรรมที่ชวนให้น่ากังวล

เมื่อวานนี้ นสพ. "เลอ มง" ของฝรั่งเศส ได้ตีพิมพ์รายงานขนาดยาวเกี่ยวกับวชิราลงกรณ์ของคุณ อาโรลด์ ทิโบต์ (Harold Thibault) - ภายใต้ชื่อเรื่องข้างต้น
ตัวรายงานจริง อยู่ที่นี่ อ่านได้เฉพาะผู้เป็นสมาชิก https://goo.gl/SKJFpD
แต่คุณ Andrew MacGregor Marshall ได้นำออกเผยแพร่ อ่านได้ที่นี่ (เป็นภาษาฝรั่งเศส มีคำนำภาษาอังกฤษของคุณแอนดรูสั้นๆ และตอนท้ายคุณแอนดรูได้โพสต์ฉบับแปลภาษาอังกฤษที่ใช้ Google Translate ไว้ด้วย) https://goo.gl/W5NMc3
ข้างล่างนี้ ผมสรุปเนื้อหาของรายงาน

Rama X, l’inquiétant nouveau roi de Thaïlande

Maha Vajiralongkorn est un homme à femmes, imprévisible et colérique, qui diffère son couronnement et préfère vivre en ­Bavière. Son règne pourrait être très brutal.

Par

Publié le 05 janvier 2018 à 15h12 - Mis à jour le 06 janvier 2018 à 16h15

Article réservé aux abonnés

Le roi Maha Vajiralongkorn suit le convoi lors funérailles de son père, le roi Rama IX, le 26 octobre 2017.

Les Allemands ne prêtaient pas vraiment attention à sa présence jusqu’à ce jour de juillet 2016 où le tabloïd Bild a publié des photos de lui sur les pistes de l’aéroport de Munich. Il y apparaît vêtu d’un débardeur couvrant à peine la moitié de son ventre et d’un jean tombant sur le bas des hanches, laissant deviner dans son dos un immense tatouage.

Article réservé à nos abonnés Lire aussi Des photos du prince héritier thaï embarrassent le royaume

C’est en Bavière, bien loin de Bangkok, de ses palais et de la sulfureuse réputation qu’il s’y est bâtie que l’héritier du trône de Thaïlande a passé le plus clair de son temps ces dernières années, alors que son père, Bhumibol Adulyadej, était alité et que ses sujets, l’armée et toute l’élite politique craignaient l’inexorable dénouement.

Couronnement en mars ?

Il eut lieu le 13 octobre 2016, après soixante-dix ans et 126 jours de règne. Maha Vajiralongkorn rentre alors au pays avant de le quitter à nouveau quinze jours plus tard. Les habitants de l’ex-royaume de Siam porteront le deuil de Rama IX, son nom dynastique, pendant un an. Jusqu’à sa crémation, le 26 octobre 2017. S’il a été proclamé roi le 1er décembre 2016, Maha Vajiralongkorn doit maintenant se faire couronner. Mais quand ? « Vers la fin de l’année » 2017, croyait savoir le vice-premier ministre Wissanu Krea-Ngam. Il n’en a rien été, car au sein du gouvernement, nul ne peut prédire quand l’héritier du trône se décidera à signer le décret. On parle désormais du mois de mars 2018.

Article réservé à nos abonnés Lire aussi En Thaïlande, le deuil et la régence après la mort du roi Bhumibol

La personnalité de Maha Vajiralongkorn est un sujet sensible dans le royaume. Son caractère irascible, ses caprices, ses mariages, répudiations et maîtresses sont un secret de Polichinelle en Thaïlande, mais il n’en est pas moins tabou. Et gare à celui qui le brise. L’article 112 du code pénal menace d’une peine allant jusqu’à quinze années d’emprisonnement quiconque se risquerait à critiquer la monarchie ou même à évoquer la problématique royale. En 2015, un homme a même été arrêté pour un commentaire sarcastique sur le chien du roi, un autre pour avoir « liké » et partagé sur Facebook un simple photomontage.

L’establishment thaïlandais aurait préféré voir sa sœur, la populaire princesse Sirindhorn, monter sur le trône.

Pourtant, l’étrangeté du nouveau monarque est connue de tous. Lorsqu’en 2010, l’ambassadeur des États-Unis à Bangkok, Eric G. John, demandait au général Prem Tinsulanonda où était le prince, le chef du conseil privé du roi lui répondait : « Vous connaissez sa vie sociale, comment il est… ». Un autre câble révélé par WikiLeaks relatait le récit par un autre ambassadeur américain, Ralph Boyce, d’un dîner pour 600 personnes : le caniche du prince, Foo Foo, nommé commandant de l’armée de l’air et vêtu selon son grade, avait sauté sur la table et bu dans les verres des invités, dont celui de l’envoyé américain.


...............
 
- วชิราลงกรณ์เป็นคนเจ้าอารมณ์ที่คาดเดายากว่าจะทำอะไร เขาชอบใช้ชีวิตในบาวาเรีย รัชสมัยของเขาสามารถเป็นรัชสมัยที่โหด
 
- คนเยอรมันไม่ได้สนใจวชิราลงกรณ์จนกระทั่งเดือนกรกฎาคม 2016 เมื่อ Build ตีพิมพ์ภาพของเขาที่สนามบินมิวนิค ในชุดคร้อปท็อปโชว์พุง และลายแท็ตทูกลางหลัง
 
- เขาใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในบาวาเรียในปีหลังๆนี้ ในขณะที่พระราชบิดานอนป่วย
 
- วันที่ 13 ตุลาคม 2016 กษัตริย์ภูมิพลสวรรคต วชิราลงกรณ์บินกลับไทย แต่อยู่ได้ราวสองสัปดาห์ก็กลับเยอรมันอีก เขาได้รับประกาศเป็นกษัตริย์วันที่ 1 ธันวา แต่พิธีราชาภิเษกยังไม่แน่ว่าจะมีเมื่อไร เดิมวิษณุ เครืองามบอกว่าสิ้นปี 2017 แต่ก็ผ่านไป ขณะนี้ มีการพูดกันว่า อาจจะในเดือนมีนาคม 2018 [ดังที่ผมเคยเล่าไปว่า ผมได้ยินว่า อาจจะเป็นเมษายน ช่วงวันจักรีหรือใกล้ๆกัน แต่เรื่องนี้ก็ยืนยันไม่ได้ - สศจ.]
 
- บุคลิกของวชิราลงกรณ์เป็นเรื่องอ่อนไหวในไทย ทุกคนรู้ลักษณะนิสัยเขา ความเป็นคนโมโหง่าย เอาแต่ใจ การมีสนมหลายคน แต่เรื่องพวกนี้เป็นสิ่งต้องห้ามที่จะพูด ถ้าใครพูดจะผิดกฎหมายอาญามาตรา 112 ซึ่งมีบทลงโทษหนักสำหรับใครที่แม้แต่จะพูดถึงเรื่องเกี่ยวกับราชวงศ์ ในปี 2015 เคยมีคนถูกจับเพียงเพราะพูดประชดเสียดสีสุนัขทรงเลี้ยง
 
- พวกชนชั้นนำความจริงต้องการจะให้น้องสาววชิราลงกรณ์ ฟ้าหญิงสิรินธร ผู้ได้รับความนิยม ขึ้นครองราชย์มากกว่า
 
- ความพิลึกของกษัตริย์องค์ใหม่เป็นที่รู้กันทั่ว ในปี 2010 อีริค จี จอห์น เอกอัครรัฐทูตอเมริกัน ถาม พล.อ.เปรม ประธานองคมนตรีว่า วชิราลงกรณ์อยู่ที่ไหน เปรมตอบว่า "คุณก็รู้ไลฟ์สไตล์ของเขา รู้ว่าเขาเป็นคนยังไง..." ในโทรเลขการทูตของสหรัฐที่เปิดเผยโดยวิกิลีกส์อีกฉบับหนึ่ง ลาฟ บอยซ์ ทูตอเมริกันอีกคนหนึ่ง เล่าถึงดินเนอร์ที่มีแขกเหรื่อ 600 คน แล้วฟูฟู สุนัขของวชิราลงกรณ์ ที่เขาตั้งให้เป็นพลอากาศเอก และถูกจับแต่งตัวในชุดทหารตามยศ กระโดดขึ้นโต๊ะอาหาร และกินน้ำในแก้วของแขก รวมทั้งของทูต
 
- ชนชั้นนำไทย ความจริงอยากให้ฟ้าหญิงสิรินธรขึ้นครองราชย์มากกว่า แต่เป็นไปไม่ได้ เพราะเธอไม่ได้แต่งงาน ไม่มีลูก และกษัตริย์ภูมิพลได้กำหนดไว้ตั้งแต่ปี 1972 ให้วชิราลงกรณ์เป็นรัชทายาท
 
- เมื่อ 2 ปีก่อน ขณะที่พระราชบิดากำลังใกล้สวรรคต วชิราลงกรณ์ซื้อบ้าน 2 หลังริมทะเลสาบ สตรานเบิร์ก ในบาวาเรีย ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงาม
 
- บ้านในตุสซิงที่เขาซื้อ ราคาประมาณ 12 ล้านยูโร นายกิลโด ไลน์เนอร์ (Guido Lindner) ผู้จัดการโรงแรม Hotel du Lac ที่อยู่ใกล้ๆบ้านนั้น ให้สัมภาษณ์ว่า "วชิราลงกรณ์ได้รับการปฏิบัติจากพวกบริพาร ราวกับเป็นพระพุทธเจ้าที่มีชีวิต" นายกิลโดเล่าว่าคณะผู้ติดตามของวชิราลงกรณ์เคยเสนอขอซื้อโรงแรมเขา [เข้าใจว่า เพื่อเคลียร์บริเวณนั้นให้มีความไพรเวทมากขึ้น จากแขกโรงแรม - สศจ.] แต่เขาไม่ขาย วชิราลงกรณ์ยังได้ซื้อบ้านอีกแห่งที่ฟิลดาฟิ้ง ที่ห่างออกไปไม่กี่กิโลเมตร เพื่อเขาจะได้มีที่อยู่กับคู่ควงแต่ละคน แยกกัน และกับลูกชาย
 
- ย่านทะเลสาบ สตรานเบิร์ก ที่วชิราลงกรณ์อยู่เป็นย่านที่พวกนักธุรกิจรวยๆหรือศิลปินไปพักอาศัย มีความสงบมากกว่าโรงแรมฮิลตันใกล้สนามบินมิวนิค ซึ่งวชิราลงกรณ์เคยอยู่ประจำก่อนจะมาซื้อบ้าน แต่วชิราลงกรณ์ก็ยังไปพักที่ฮิวตันบ้างเป็นบางครั้ง
 
- วชิราลงกรณ์ชอบขับเครื่องบิน (บทรายงานเล่าถึงกรณีที่วชิราลงกรณ์ขับเครื่องบินขวางเครื่องบินของนายกฯญี่ปุ่น ที่พอล แฮนด์ลี่ย์ เล่าไว้ใน The King Never Smiles)
 
- โรงแรมฮิลตัน เดิมเป็นโรงแรมเคมปินสกี้ ซึ่งราชวงศ์ไทยถือหุ้นใหญ่ ก่อนจะขายให้ฮิลตัน อดีตพนักงานโรงแรมผู้หนึ่งให้สัมภาษณ์ว่า สมัยที่วชิราลงกรณ์ไปพักประจำที่นั่น สร้างความยุ่งเหยิงให้ทางโรงแรม วชิราลงกรณ์กับคณะจะมาพักครั้งละ 2-3 เดือน หลายครั้งต่อปี บางครั้งสถานทูตไทยในเบอร์ลินแจ้งต่อโรงแรมล่วงหน้าเพียงแค่ไม่กี่วัน ว่าวชิราลงกรณ์จะมาพัก ครั้งหนึ่ง ในช่วงต้นทศวรรษ 2010s ทางโรงแรมต้องย้ายการประชุมคอนเฟอเรนซ์ที่จัดโดยลูกค้าสำคัญของโรงแรม คือบริษัทประกันภัย Allianz ที่มีผู้เข้าร่วมประชุมนับร้อย ออกไปจัดที่อื่น เพราะวชิราลงกรณ์กับคณะมาพักโรงแรมกระทันหัน
 
- การมาพักแต่ละครั้งของวชิราลงกรณ์จะมาพร้อมกับกระเป๋าข้าวของหนักเป็นตันๆ ทางโรงแรมต้องจัดการเคลียร์ชั้นโรงแรมเป็นชั้นๆ หรือปีกบางปีกของโรงแรม โดยเฉพาะเมื่อวชิราลงกรณ์พาคู่ควงมามากกว่าหนึ่งคน [เพื่อให้แยกกันอยู่คนละชั้นคนละปีก - สศจ.] ทีมบริพารของวชิราลงกรณ์เคยพยายามจะบังคัับให้พนักงานชาวเยอรมันของโรงแรมต้องหมอบคลานต่อหน้าวชิราลงกรณ์ แต่ทางฝ่ายจัดการของโรงแรมไม่ยอม ทางทีมบริพารเลยขอให้พนักงานห้ามมองสบตาหรือพูดกับวชิราลงกรณ์. ในห้องพักของวชิราลงกรณ์จะมีการประดับภาพพวกรถยนต์เก่าที่เขาสะสม
 
- อดีตพนักงานโรงแรมคนเดียวกันเล่าว่า วันหนึ่ง พนักงานหญิงทำความสะอาด (เมด) พบว่า ทีมบริพารของวชิราลงกรณ์ได้แขวนรูปฮิตเล่อร์ไว้บนผนัง อดีตพนักงานที่ให้สัมภาษณ์บอกว่า ไม่แน่ใจว่าเพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อย่างประหลาดหรือเพราะความนิยมชมชอบฮิตเล่อร์กันแน่ ทางฝ่ายจัดการโรงแรมต้องบอกอย่างเข้มงวดต่อเจ้าหน้าที่สถานทูตไทยให้เอาภาพนั้นออก
...............
[รายงานยังไม่จบ - ถ้ามีเวลา ผมจะมาแปลสรุปที่เหลือต่อ กระทู้นี้ยาวมากแล้ว และตอนนี้เป็นเวลาดึกมากของที่นี่]