แปลโดย ดวงจำปา
ใน นามของประธานและท่านผู้พิพากษาทั้งหมด 18 ท่านของศาลอาญาระหว่างประเทศ (ไอซีซี) ข้าพเจ้าขอสื่อมอบความปรารถนาดีให้กับประชาชนชาวไทยทุกๆ ท่าน ในสัปดาห์นี้ ข้าพเจ้ามีความยินดีต่อการมาเยี่ยมเยียนประเทศที่สวยสดงดงามในฐานะของผู้มี ส่วนร่วมในการประชุมสัมมนาสากลเกี่ยวกับองค์กร ไอซีซี
องค์กร ไอซีซี เป็นองค์กรอิสระ เป็นศาลถาวรซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ยุติการได้รับการยกเว้นโทษทัณฑ์ใน เรื่องของอาชญากรอันร้ายแรงอันเป็นความน่าสะพึงกลัวต่อนานาอารยะประเทศ
องค์กร ไอซีซี เป็นผลเนื่องมากจากความพากเพียรพยายามอันแสนยาวนานโดยชุมชนนานาชาติ เพื่อที่จะให้การกระทำประเภทที่ทารุณโหดร้ายอย่างไม่สามารถที่จะนึกภาพได้ ซึ่งทำความวิบัติมาสู่รมวลมนุษยชาติอย่างเป็นเวลานานเกินไปนั้น สามารถมาถึงจุดจบลงได้ องค์กร ไอซีซี ยึดหลักการของสนธิสัญญาธรรมนูญกรุงโรม ซึ่งได้ถูกรับนำมาใช้บังคับในปี พ.ศ. 2541 และ ในเวลานี้ ได้มีประเทศและรัฐอิสระส่วนใหญ่ของโลก ได้ร่วมตัวเป็นรัฐภาคีกับองค์กรนี้
องค์กร ไอซีซี ไม่ใช่ ตัวแทนของระบบการบริหารงานยุติธรรมต่างๆ ของประเทศ ภายใต้ธรรมนูญกรุงโรมได้ระบุไว้ว่า ถึงแม้เมื่อรัฐหนึ่งจะร่วมตัวเป็นสมาชิกกับ ไอซีซี รัฐนั้นก็ยังคงมีหน้าที่ความรับผิดชอบในเบื้องต้นต่อระบบการบริหารงาน ยุติธรรมในประเทศของตนเอง ในการใช้อำนาจศาลในเรื่องของอาชญากรรมแทนที่จะเป็นอาชญากรรมระหว่างประเทศ
องค์กร ไอซีซี เป็น ศาลยุติธรรมที่พึ่งแหล่งสุดท้าย ซึ่งสามารถพิจารณาความต่อบุคคลใดๆ ที่ต้องสงสัยว่าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์, อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม เมื่อระบบการบริหารยุติธรรมของประเทศนั้น ไม่สามารถหรือไม่มีความเต็มใจที่จะปฎิบัติกระทำการตัดสินคดีเหล่านั้น
ดัง นั้น เมื่อ องค์กร ไอซีซี เป็นการเกราะป้องกันประเภทหนึ่งซึ่งเสริมความมั่นใจต่อความรับผิดชอบใน เรื่องอาชญากรรมอย่างมหันต์ซึ่งมีความน่าสะพึงกลัวต่อมนุษยชาตินั้น ยังก่อให้เกิดความคุ้มกันไม่ให้ความโหดร้ายป่าเถื่อนเกิดขึ้นได้ในอนาคตด้วย
องค์กร ไอซีซี เป็นองค์กรที่มีรูปแบบในความเป็นกลาง, พร้อมไปด้วยความยุติธรรมและปราศจากวิถีทางทางการเมือง ซึ่งรักษาวินัยมาตรฐานอย่างสูงที่สุดในกระบวนการยุติธรรมและกระบวนการทาง กฎหมายในการปฎิบัติทุกๆ เรื่องขององค์กรนี้ องค์กรไม่ใช่หน่วยงานในระบบขององค์การสหประชาชาติ แต่องค์กรทั้งสองนี้ได้ทำงานร่วมมือกันมาหลายกรณีแล้ว
องค์กร ไอซีซี ยึดหลักการของความเคารพอย่างสูงสุดต่ออธิปไตยในประเทศต่างๆ และ มันเป็นการตัดสินใจของแต่ละประเทศเองว่าจะร่วมเป็นสมาชิกกับ องค์กร ไอซีซี หรือไม่ สมาชิกในรัฐภาคีของศาลนั้น ก็ได้เพิ่มขึ้นอย่างมั่นคงและในปัจจุบัน มีสมาชิกรัฐภาคีอยู่ 114 ประเทศจากห้าเขตของโลก
ประเทศที่เป็นสมาชิกในรัฐภาคี เป็นตัวแทนของหลายๆ วัฒนธรรม ทั้งเรื่องของตัวบทกฎหมายและทางศาสนา และรวมไปถึงระบบการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญที่แตกต่างกัน เป็นต้นว่า แบบสาธารณรัฐ, แบบสหพันธ์ และ แบบราชาธิปไตย ความแตกต่างหลายหลากทางด้านภูมิศาสตร์, ประเพณีและทางการเมืองได้แสดงให้เห็นรูปลักษณะสากลอย่างแท้จริงขององค์กร ไอซีซี
ประเทศไทยมีประวัติซึ่งแสดงความคืบหน้าในการร่วมลงนามสนธิ สัญญาต่างๆ ในทางกฎหมายระหว่างประเทศ รวมไปถึง สนธิสัญญา 9 ฉบับจาก 11 ฉบับ ซึ่งเป็นแก่นของสนธิสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนสากล ประเทศไทยยังเป็นผู้สนับสนุนอย่างแรงกล้าให้กับองค์การสหประชาชาติ ในเรื่องของการส่งบุคลากรให้กับทางองค์การสหประชาชาติ ต่อการดำเนินงานรักษาความสงบเรียบร้อย และเป็นสำนักงานหลัก ซึ่งมีหน่วยงานขององค์การสหประชาชาติตั้งอยู่มากกว่า 25 แห่งในกรุงเทพมหานคร
ไม่มีข้อสงสัยอันใดเลย ที่พันธกรณีของประเทศไทยซึ่งมีต่อสิทธิมนุษยชนและความสัมพันธ์เกี่ยวกับความ สงบเรียบร้อยต่อประเทศอื่นๆ นั้น จะเป็นการหนุนนำประเทศในการร่วมเป็นรัฐภาคีกับองค์กร ไอซีซี (ลงนามให้สัตยาบัน – ผู้แปล)
ประเทศไทยมีประวัติศาสตร์อันยืนยาวใน การเข้าร่วมต่อกระบวนการขององค์กร ไอซีซี ผู้แทนระดับสูงของรัฐบาลไทยได้เข้าร่วมในการประชุม ณ กรุงโรมในปี พ.ศ. 2541 ซึ่งเป็นปีที่ ธรรมนูญขององค์กร ไอซีซี ได้ถูกรับนำมาปฎิบัติ ในวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ประเทศไทยได้ดำเนินการอย่างสำคัญในขั้นแรก กับองค์กร ไอซีซี ด้วยการลงนามต่อธรรมนูญกรุงโรม
เมื่อเดือนที่แล้ว (ธันวาคม พ.ศ. 2553 - ผู้แปล) ข้าพเจ้ามีความปิติยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้สังเกตุเห็นว่า มีคณะผู้แทนระดับสูงของประเทศไทย ในการประชุมรัฐภาคีภาคที่ 9 ในเรื่องของธรรมนูญกรุงโรม ซึ่งจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ กรุงนิวยอร์ค
โดย การก้าวไปสู่ขั้นตอนต่อไป ในการให้สัตยาบันต่อธรรมนูญนี้ ประเทศไทยจะเป็นผู้ส่งสัญญาณอย่างชัดเจนต่อพันธกิจในเรื่องของการยึดหลักการ ทางกฎหมาย, ทางความสงบเรียบร้อย และ ทางการต่อสู้กับการยกเว้นโทษทัณฑ์ ซึ่งไม่เพียงแต่ในประเทศเท่านั้น แต่หมายถึงทั่วทุกมุมโลกเลยทีเดียว การให้สัตยาบันยังได้ช่วยให้ ประเทศในรัฐภาคีนั้น มีสิทธิในการเสนอชื่อผู้พิพากษาและสามารถมีเสียงเลือกตั้งในการเลือกตั้งของ ตัวผู้พิพากษาในตำแหน่งสูงที่สุด ภายในองค์กร ไอซีซี อีกด้วย
ในการ เลือกตั้งครั้งต่อๆ ไป ในตำแหน่งอัยการและผู้พิพากษาจำนวน หกตำแหน่งซึ่งจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2555 ดังนั้น ในเวลานี้ จึงเป็นเวลาที่ดีเยี่ยมต่อประเทศไทยในการร่วมกันเป็นรัฐในภาคีของ องค์กร ไอซีซี ซึ่งสามารถเปลี่ยนรูปของการพัฒนาการในอนาคตและสามารถก่อให้ขยายตัวกว้างขึ้น ในระดับโลก มากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ในขณะเดียวกันนี้ มันก็ถึงเวลาแล้วในเรื่องของการแปลธรรมนูญกรุงโรมให้เป็นภาษาไทย
ใน การกระทำตามตัวอย่างที่ดีในประเทศเอเซียหลายประเทศ ซึ่งธรรมนูญกรุงโรมได้ถูกแปลเป็นภาษาทางการของประเทศนั้นๆ รวมไปถึง ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลีและภาษาเวียดนาม การแปลเป็นภาษาไทยอย่างถูกต้องตามอักขระ สามารถปรับปรุงและนำความเข้าใจต่อองค์กร ไอซีซี และบทอำนาจขององค์กรมาสู่ประชาชนได้ เรื่องนี้เป็นมาตรการอันสำคัญ สำหรับประเทศไทยว่า จะสนับสนุนในการประเมินผลในสนธิสัญญาอันเป็นประวัติศาสตร์และตัดสินใจว่าควร จะลงนามให้สัตยาบันหรือไม่ ประเทศต่างๆ ในทวีปเอเซียหลายประเทศ, รวมทั้งประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลีใต้ ได้ลงนามให้สัตยาบันกับธรรมนูญกรุงโรมเรียบร้อยแล้ว และยังมีอีกหลายประเทศที่กำลังตัดสินใจที่จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกในครอบครัว ขององค์กร ไอซีซี อีกด้วย ในขณะนี้ มีแต่ประเทศกัมพูชาและประเทศติมอร์-เลสตี้ เท่านั้น ที่ได้ร่วมเป็นรัฐภาคีทั้งสองประเทศซึ่งตั้งอยู่ทางภูมิภาคเอเซียตะวันออก เฉียงใต้
ข้าพเจ้ามั่นใจว่า ไม่เพียงแต่ 114 ประเทศรัฐภาคีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงฝ่ายตุลาการเองด้วย ซึ่งจะมีความปิติยินดีในการต้อนรับให้ประเทศไทยเป็นน้องใหม่ของประเทศรัฐ ภาคี
องค์กร ไอซีซี เป็นองค์กรอิสระ เป็นศาลถาวรซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ยุติการได้รับการยกเว้นโทษทัณฑ์ใน เรื่องของอาชญากรอันร้ายแรงอันเป็นความน่าสะพึงกลัวต่อนานาอารยะประเทศ
องค์กร ไอซีซี เป็นผลเนื่องมากจากความพากเพียรพยายามอันแสนยาวนานโดยชุมชนนานาชาติ เพื่อที่จะให้การกระทำประเภทที่ทารุณโหดร้ายอย่างไม่สามารถที่จะนึกภาพได้ ซึ่งทำความวิบัติมาสู่รมวลมนุษยชาติอย่างเป็นเวลานานเกินไปนั้น สามารถมาถึงจุดจบลงได้ องค์กร ไอซีซี ยึดหลักการของสนธิสัญญาธรรมนูญกรุงโรม ซึ่งได้ถูกรับนำมาใช้บังคับในปี พ.ศ. 2541 และ ในเวลานี้ ได้มีประเทศและรัฐอิสระส่วนใหญ่ของโลก ได้ร่วมตัวเป็นรัฐภาคีกับองค์กรนี้
องค์กร ไอซีซี ไม่ใช่ ตัวแทนของระบบการบริหารงานยุติธรรมต่างๆ ของประเทศ ภายใต้ธรรมนูญกรุงโรมได้ระบุไว้ว่า ถึงแม้เมื่อรัฐหนึ่งจะร่วมตัวเป็นสมาชิกกับ ไอซีซี รัฐนั้นก็ยังคงมีหน้าที่ความรับผิดชอบในเบื้องต้นต่อระบบการบริหารงาน ยุติธรรมในประเทศของตนเอง ในการใช้อำนาจศาลในเรื่องของอาชญากรรมแทนที่จะเป็นอาชญากรรมระหว่างประเทศ
องค์กร ไอซีซี เป็น ศาลยุติธรรมที่พึ่งแหล่งสุดท้าย ซึ่งสามารถพิจารณาความต่อบุคคลใดๆ ที่ต้องสงสัยว่าเป็นผู้รับผิดชอบต่อการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์, อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม เมื่อระบบการบริหารยุติธรรมของประเทศนั้น ไม่สามารถหรือไม่มีความเต็มใจที่จะปฎิบัติกระทำการตัดสินคดีเหล่านั้น
ดัง นั้น เมื่อ องค์กร ไอซีซี เป็นการเกราะป้องกันประเภทหนึ่งซึ่งเสริมความมั่นใจต่อความรับผิดชอบใน เรื่องอาชญากรรมอย่างมหันต์ซึ่งมีความน่าสะพึงกลัวต่อมนุษยชาตินั้น ยังก่อให้เกิดความคุ้มกันไม่ให้ความโหดร้ายป่าเถื่อนเกิดขึ้นได้ในอนาคตด้วย
องค์กร ไอซีซี เป็นองค์กรที่มีรูปแบบในความเป็นกลาง, พร้อมไปด้วยความยุติธรรมและปราศจากวิถีทางทางการเมือง ซึ่งรักษาวินัยมาตรฐานอย่างสูงที่สุดในกระบวนการยุติธรรมและกระบวนการทาง กฎหมายในการปฎิบัติทุกๆ เรื่องขององค์กรนี้ องค์กรไม่ใช่หน่วยงานในระบบขององค์การสหประชาชาติ แต่องค์กรทั้งสองนี้ได้ทำงานร่วมมือกันมาหลายกรณีแล้ว
องค์กร ไอซีซี ยึดหลักการของความเคารพอย่างสูงสุดต่ออธิปไตยในประเทศต่างๆ และ มันเป็นการตัดสินใจของแต่ละประเทศเองว่าจะร่วมเป็นสมาชิกกับ องค์กร ไอซีซี หรือไม่ สมาชิกในรัฐภาคีของศาลนั้น ก็ได้เพิ่มขึ้นอย่างมั่นคงและในปัจจุบัน มีสมาชิกรัฐภาคีอยู่ 114 ประเทศจากห้าเขตของโลก
ประเทศที่เป็นสมาชิกในรัฐภาคี เป็นตัวแทนของหลายๆ วัฒนธรรม ทั้งเรื่องของตัวบทกฎหมายและทางศาสนา และรวมไปถึงระบบการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญที่แตกต่างกัน เป็นต้นว่า แบบสาธารณรัฐ, แบบสหพันธ์ และ แบบราชาธิปไตย ความแตกต่างหลายหลากทางด้านภูมิศาสตร์, ประเพณีและทางการเมืองได้แสดงให้เห็นรูปลักษณะสากลอย่างแท้จริงขององค์กร ไอซีซี
ประเทศไทยมีประวัติซึ่งแสดงความคืบหน้าในการร่วมลงนามสนธิ สัญญาต่างๆ ในทางกฎหมายระหว่างประเทศ รวมไปถึง สนธิสัญญา 9 ฉบับจาก 11 ฉบับ ซึ่งเป็นแก่นของสนธิสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนสากล ประเทศไทยยังเป็นผู้สนับสนุนอย่างแรงกล้าให้กับองค์การสหประชาชาติ ในเรื่องของการส่งบุคลากรให้กับทางองค์การสหประชาชาติ ต่อการดำเนินงานรักษาความสงบเรียบร้อย และเป็นสำนักงานหลัก ซึ่งมีหน่วยงานขององค์การสหประชาชาติตั้งอยู่มากกว่า 25 แห่งในกรุงเทพมหานคร
ไม่มีข้อสงสัยอันใดเลย ที่พันธกรณีของประเทศไทยซึ่งมีต่อสิทธิมนุษยชนและความสัมพันธ์เกี่ยวกับความ สงบเรียบร้อยต่อประเทศอื่นๆ นั้น จะเป็นการหนุนนำประเทศในการร่วมเป็นรัฐภาคีกับองค์กร ไอซีซี (ลงนามให้สัตยาบัน – ผู้แปล)
ประเทศไทยมีประวัติศาสตร์อันยืนยาวใน การเข้าร่วมต่อกระบวนการขององค์กร ไอซีซี ผู้แทนระดับสูงของรัฐบาลไทยได้เข้าร่วมในการประชุม ณ กรุงโรมในปี พ.ศ. 2541 ซึ่งเป็นปีที่ ธรรมนูญขององค์กร ไอซีซี ได้ถูกรับนำมาปฎิบัติ ในวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ประเทศไทยได้ดำเนินการอย่างสำคัญในขั้นแรก กับองค์กร ไอซีซี ด้วยการลงนามต่อธรรมนูญกรุงโรม
เมื่อเดือนที่แล้ว (ธันวาคม พ.ศ. 2553 - ผู้แปล) ข้าพเจ้ามีความปิติยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้สังเกตุเห็นว่า มีคณะผู้แทนระดับสูงของประเทศไทย ในการประชุมรัฐภาคีภาคที่ 9 ในเรื่องของธรรมนูญกรุงโรม ซึ่งจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ กรุงนิวยอร์ค
โดย การก้าวไปสู่ขั้นตอนต่อไป ในการให้สัตยาบันต่อธรรมนูญนี้ ประเทศไทยจะเป็นผู้ส่งสัญญาณอย่างชัดเจนต่อพันธกิจในเรื่องของการยึดหลักการ ทางกฎหมาย, ทางความสงบเรียบร้อย และ ทางการต่อสู้กับการยกเว้นโทษทัณฑ์ ซึ่งไม่เพียงแต่ในประเทศเท่านั้น แต่หมายถึงทั่วทุกมุมโลกเลยทีเดียว การให้สัตยาบันยังได้ช่วยให้ ประเทศในรัฐภาคีนั้น มีสิทธิในการเสนอชื่อผู้พิพากษาและสามารถมีเสียงเลือกตั้งในการเลือกตั้งของ ตัวผู้พิพากษาในตำแหน่งสูงที่สุด ภายในองค์กร ไอซีซี อีกด้วย
ในการ เลือกตั้งครั้งต่อๆ ไป ในตำแหน่งอัยการและผู้พิพากษาจำนวน หกตำแหน่งซึ่งจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2555 ดังนั้น ในเวลานี้ จึงเป็นเวลาที่ดีเยี่ยมต่อประเทศไทยในการร่วมกันเป็นรัฐในภาคีของ องค์กร ไอซีซี ซึ่งสามารถเปลี่ยนรูปของการพัฒนาการในอนาคตและสามารถก่อให้ขยายตัวกว้างขึ้น ในระดับโลก มากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ในขณะเดียวกันนี้ มันก็ถึงเวลาแล้วในเรื่องของการแปลธรรมนูญกรุงโรมให้เป็นภาษาไทย
ใน การกระทำตามตัวอย่างที่ดีในประเทศเอเซียหลายประเทศ ซึ่งธรรมนูญกรุงโรมได้ถูกแปลเป็นภาษาทางการของประเทศนั้นๆ รวมไปถึง ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลีและภาษาเวียดนาม การแปลเป็นภาษาไทยอย่างถูกต้องตามอักขระ สามารถปรับปรุงและนำความเข้าใจต่อองค์กร ไอซีซี และบทอำนาจขององค์กรมาสู่ประชาชนได้ เรื่องนี้เป็นมาตรการอันสำคัญ สำหรับประเทศไทยว่า จะสนับสนุนในการประเมินผลในสนธิสัญญาอันเป็นประวัติศาสตร์และตัดสินใจว่าควร จะลงนามให้สัตยาบันหรือไม่ ประเทศต่างๆ ในทวีปเอเซียหลายประเทศ, รวมทั้งประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลีใต้ ได้ลงนามให้สัตยาบันกับธรรมนูญกรุงโรมเรียบร้อยแล้ว และยังมีอีกหลายประเทศที่กำลังตัดสินใจที่จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกในครอบครัว ขององค์กร ไอซีซี อีกด้วย ในขณะนี้ มีแต่ประเทศกัมพูชาและประเทศติมอร์-เลสตี้ เท่านั้น ที่ได้ร่วมเป็นรัฐภาคีทั้งสองประเทศซึ่งตั้งอยู่ทางภูมิภาคเอเซียตะวันออก เฉียงใต้
ข้าพเจ้ามั่นใจว่า ไม่เพียงแต่ 114 ประเทศรัฐภาคีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงฝ่ายตุลาการเองด้วย ซึ่งจะมีความปิติยินดีในการต้อนรับให้ประเทศไทยเป็นน้องใหม่ของประเทศรัฐ ภาคี
ท่านผู้เขียนบทความนี้คือ: ดร. จูร์ เอช. ซี. ฮันส์-ปีเตอร์ คาอูล เป็นรองประธานของศาลอาญาระหว่างประเทศ ท่านมาอยู่ที่กรุงเทพมหานครเพื่อให้ปาฐกถาในการสัมมนาซึ่งจัดงานเป็นเจ้าภาพ ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสถานเอกอัครราชฑูตเยอรมันประจำ ประเทศไทย ในหัวข้อเรื่อง “สิทธิมนุษยชนและองค์กร ไอซีซี” และในวันจันทร์ที่ 24 (มกราคม พ.ศ. 2554) จะได้เข้าพบกับเอกอัครราชฑูตสหภาพยุโรป คุณเดวิด ลิพแมน และ ผู้แทนของประธานกลุ่มสหภาพยุโรปที่แท้จริงคือ เอกอัครราชฑูตฮังการีประจำประเทศไทย คือ คุณ ทอมไจ เดเนส เพื่อสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องของสถานการณ์ปัจจุบันต่อกระบวนการ ให้สัตยาบันกับบทธรรมนูญ ไอซีซี ในประเทศไทย
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar