(ยุค"ตุลาการภิวัฒน์"คำสั่งใบสั่งคือกฎหมาย???)
ในงานเสวนา
40 ปีนิติปรัชญาที่นิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ วรเจตน์ ภาคีรัตน์
อธิบายถึงการปรากฏตัวขึ้นของระบอบที่ยังตั้งชื่อไม่ได้
ซึ่งเราอาจยังไม่รู้จักมากพอ "แต่เราจะรู้จักมากขึ้นเรื่อยๆ
ในอนาคตอันไม่ช้าไม่นานนี้"
พร้อมตั้งข้อสังเกตถึงบางสิ่งบางอย่างที่ไม่ใช่กฎหมาย
แต่มีผลเสมือนเป็นกฎหมายหรือยิ่งกว่ากฎหมายที่เกิดขึ้นมาคู่ขนานกันกับการใช้กฎหมายในทางเป็นจริง
โปรเจ็กสุดท้ายในชีวิตที่ในหลวงทำคือการสตาร์ท"ตุลาการภิวัฒน์" เมื่อ10ปีก่อน-นี่เป็นหายนะที่จะอยู่กับประเทศไทยไปอีกนาน goo.gl/pF6UqO
โปรเจ็กสุดท้ายในชีวิตที่ในหลวงทำ คือการ launch หรือสตาร์ท เมื่อสิบปีก่อน สิ่งที่เรียกว่า "ตุลาการภิวัฒน์" - คือการทำให้ "กระบวนการยุติธรรม-ศาล" ทั้งหมด กลายเป็นกลไกการเมือง สำหรับจัดการปัญหาการเมืองและผู้เล่นทางการเมือง
ผลก็คือ - พร้อมๆกับตัวในหลวงและสถาบันกษัตริย์เอง - กระบวนการยุติธรรม-ศาลทั้งหมด ไม่สามารถเป็นตัวกลางหรือจุดร่วมที่ทุกฝ่ายในสังคมจะยอมรับร่วมกันได้อีก
นี่เป็นหายนะที่จะอยู่กับประเทศไทยไปอีกนาน
............
หมายเหตุ: ผมมองว่า การจัดการปัญหาการเมืองด้วยกระบวนการทางกฎหมาย อาจจะทำได้ในบางกรณีอย่างจำกัดมากๆนะ แต่ไม่ใช่ในลักษณะที่ทำให้กระบวนการยุติธรรม-ศาลทั้งระบบกลายเป็นเครื่องมือการเมืองแบบนี้
โปรเจ็กสุดท้ายในชีวิตที่ในหลวงทำคือการสตาร์ท"ตุลาการภิวัฒน์" เมื่อ10ปีก่อน-นี่เป็นหายนะที่จะอยู่กับประเทศไทยไปอีกนาน goo.gl/pF6UqO
โปรเจ็กสุดท้ายในชีวิตที่ในหลวงทำ คือการ launch หรือสตาร์ท เมื่อสิบปีก่อน สิ่งที่เรียกว่า "ตุลาการภิวัฒน์" - คือการทำให้ "กระบวนการยุติธรรม-ศาล" ทั้งหมด กลายเป็นกลไกการเมือง สำหรับจัดการปัญหาการเมืองและผู้เล่นทางการเมือง
ผลก็คือ - พร้อมๆกับตัวในหลวงและสถาบันกษัตริย์เอง - กระบวนการยุติธรรม-ศาลทั้งหมด ไม่สามารถเป็นตัวกลางหรือจุดร่วมที่ทุกฝ่ายในสังคมจะยอมรับร่วมกันได้อีก
นี่เป็นหายนะที่จะอยู่กับประเทศไทยไปอีกนาน
............
หมายเหตุ: ผมมองว่า การจัดการปัญหาการเมืองด้วยกระบวนการทางกฎหมาย อาจจะทำได้ในบางกรณีอย่างจำกัดมากๆนะ แต่ไม่ใช่ในลักษณะที่ทำให้กระบวนการยุติธรรม-ศาลทั้งระบบกลายเป็นเครื่องมือการเมืองแบบนี้
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar