บทสัมภาษณ์
9 นักวิชาการในชุด ‘แผ่นดินจึงดาล’ นี้
ประชาไทตัดทอนมาจากบทสัมภาษณ์ฉบับเต็มในหนังสือ ‘แผ่นดินจึงดาล:
การเปลี่ยนผ่านในสภาพบังคับ’…
"มันคือการเมืองที่ไม่มีอำนาจนำ
(Hegemony)
ไม่มีพลังทางการเมืองที่จะชักจูงใจคนส่วนใหญ่ของประเทศได้โดยที่ไม่ต้องบังคับให้ยอมรับ
พอขาดพร่องอันนี้ไปก็วิ่งหาการทดแทน เพราะไม่ไว้
วางใจว่าเสียงข้างมากจากการเลือกตั้งจะยอมรับระเบียบการเมืองเดิมที่เป็นอยู่ได้
แต่ก่อนนี้ยังมีอำนาจนำที่กล่อมเกลา ที่ชักจูง
ที่เชื่อมโยงเสียงข้างมากจากการเลือกตั้งให้ยอมรับระเบียบอำนาจบางอย่างได้
ในภาวะที่อำนาจนำเสื่อมถอยก็มองหากติกาใหม่ขึ้นมา
ทางออกก็คือสร้างระเบียบที่เป็นประชาธิปไตยน้อยลง
"ผมเห็นด้วยว่าพลังที่มีโอกาสจะใช้ความรุนแรงได้มากกว่าคือพลังที่มีเครื่องมือเครื่องไม้ในมือ ซึ่งก็คืออำนาจรัฐ ดังนั้น สิทธิมนุษยชนจึงยิ่งสำคัญ เพราะเป็นสิ่งที่จะจำกัดอำนาจรัฐไว้ หัวใจสำคัญที่สุดของสิทธิมนุษยชนคือการจำกัดอำนาจรัฐ หยุดแค่นี้ สิทธิมนุษยชนเริ่มตรงนี้ เส้นอยู่ตรงนี้ แล้วเปิดพื้นที่โล่งให้คนสู้กันอย่างสันติ"
คลิกอ่านต่อทั้งหมด-แผ่นดินจึงดาล: เกษียร เตชะพีระ การเมืองและพื้นที่สุดท้ายที่ต้องรักษาเอาไว้ | ประชาไท
"ผมเห็นด้วยว่าพลังที่มีโอกาสจะใช้ความรุนแรงได้มากกว่าคือพลังที่มีเครื่องมือเครื่องไม้ในมือ ซึ่งก็คืออำนาจรัฐ ดังนั้น สิทธิมนุษยชนจึงยิ่งสำคัญ เพราะเป็นสิ่งที่จะจำกัดอำนาจรัฐไว้ หัวใจสำคัญที่สุดของสิทธิมนุษยชนคือการจำกัดอำนาจรัฐ หยุดแค่นี้ สิทธิมนุษยชนเริ่มตรงนี้ เส้นอยู่ตรงนี้ แล้วเปิดพื้นที่โล่งให้คนสู้กันอย่างสันติ"
คลิกอ่านต่อทั้งหมด-แผ่นดินจึงดาล: เกษียร เตชะพีระ การเมืองและพื้นที่สุดท้ายที่ต้องรักษาเอาไว้ | ประชาไท
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar