หากเลาะตะเข็บ – เปิดโมเดล การต่ออายุราชการของผู้นำกองทัพ เกิดขึ้น 4 ครั้ง ในประวัติศาสตร์ เพื่อ “ความจำเป็นทางการเมือง”
“ยืนยันว่า ไม่มี เพราะในช่วงรับราชการได้ทำทุกสิ่งทุกอย่าง ที่คิดว่าดีที่สุดกับกองทัพ และประเทศชาติ และที่สำคัญการปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่รักยิ่งของคนไทย ก็ต้องเป็นหน้าที่ของคนที่จะต้องมารับหน้าที่ต่อ ที่จะต้องทำหน้าที่นี้สืบสานต่อไปไม่ว่าจะเป็นเหล่าทัพใด”
...................................................
มติที่ สว. ทุกเหล่าทัพพร้อมใจร่วมลงมติมากที่สุด (ปกติโดดประชุมประจำ) คือ มติโอนหน่วยทหารเป็นของวชิราลงกรณ์
ปัญหาทหารเป็นของใคร ไม่ใช่ตอบโดยหลีกเลี่ยงความจริง อย่างที่ทุกพรรคทำกัน
เมื่อไรจึงจะยอมรับกันเสียที?
iLaw är med Prapapan Chomklang.
มติเดียวที่ส.ว.ทุกเหล่าทัพเข้าไปโหวตพร้อมกันมากที่สุด นั่นคือ...
.
คนที่ไม่ได้มาลงมติมากที่สุดในบรรดา ส.ว.ทั้งสภา คือ พล.ร.อ.ลือชัย รุดดิษฐ์ เขาขาดการลงมติถึง 144 มติจาก 145 มติ แปลว่า เขาลงมติอยู่ครั้งเดียว
.
มติเดียวที่ พล.ร.อ.ลือชัย และส.ว.อีก 4 คนที่มีโควตาจากกองทัพ และตำรวจเข้ามาลงมติพร้อมกันมากที่สุด ก็คือเรื่อง พ.ร.ก.โอนอัตรากำลังพลและงบประมาณของกองทัพบกไปเป็นของส่วนราชการในพระองค์ โดยเป็นเรื่องที่ที่ประชุมวุฒิสภาจะพิจารณาว่าอนุมัติให้ พ.ร.ก.มีผลเป็น พ.ร.บ.หรือไม่
.
มติดังกล่าวเกิดขึ้นในการประชุม สมัยวิสามัญ ครั้งที่ 1 เป็นพิเศษ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2562 มี ส.ว. เข้าร่วมลงมติ 226 คน มีคนเห็นชอบ 223 คน งดออกเสียง 3 คน และ ไม่เห็นชอบ 0 คน มีคนขาด 24 คน ซึ่งถือว่ามีค่อนข้างต่ำมาก จากค่าเฉลี่ยแต่ละมติที่มักมีคนขาดประชุมอยู่ราว 63 คน
.
เรื่องนี้ยังเป็นมติเดียวจาก 145 เรื่องที่ ส.ว.เหล่าทัพเข้าไปลงมติในที่ประชุมพร้อมกันมากที่สุดคือ 5 คน ได้แก่ ผบ.ทบ. ผบ.สส. ปลัดกระทรวงกลาโหม ผบ.ตร. และ ผบ.ทร ส่วน ผบ.ทอ.นั้นขาดประชุม ที่ผ่านมาไม่เคยมีมติไหนที่ ส.ว.เหล่าทัพจะเข้าไปลงมติพร้อมกันเกิน 2 คน
.
อีกประเด็นที่น่าสนใจคือ การลงมติ พ.ร.ก.โอนกำลังพลฯ หลังจากที่ลงมติ พ.ร.ก.โอนกำลังพลฯ กันจบแล้ว พบว่า ในการลงมติถัดไปซึ่งเกิดขึ้นในวันเดียวกันนั้นเอง ปรากฏว่า ส.ว.ทหารตำรวจทั้ง 5 คน ไม่มีใครอยู่ร่วมลงมติเลย
.
อ่านทั้งหมดได้ที่: https://www.ilaw.or.th/node/5663
——————————
*ทั้งนี้ ข้อมูลทั้งหมดสังเคราะห์จากเอกสารบันทึกการลงมติรายบุคคลของ ส.ว. แต่เนื่องจากเอกสารนี้ไม่ได้เผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปค้นหาได้ในเว็ปไซต์ เพราะไม่ได้มีข้อบังคับ ส.ว.กำหนดไว้ไอลอว์จึงใช้สิทธิผ่าน พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 เพื่อขอข้อมูลจากสำนักเลขาธิการวุฒิสภา จากนั้นจึงได้คัดถ่ายบันทึกการลงมติรายบุคคลตั้งแต่การประชุมครั้งที่ 9 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง (5 สิงหาคม 2562 จนถึง การประชุมวุฒิสภาครั้งที่ 22 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง (24 กุมภาพันธ์ 2563) รวมการประชุม 34 ครั้ง 145 มติ
.
ส่วนบันทึกการลงมติรายบุคคลของ ส.ว. ในการประชุมครั้งที่ 1-8 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง (24 พฤษภาคม 2562 – 15 กรกฎาคม 2562) เป็นการประชุมในสถานที่ชั่วคราว หอประชุมใหญ่บริษัททีโอที จำกัด(มหาชน) โดยใช้ระบบการลงคะแนนด้วยการเขียนลงกระดาษทั้งหมด เอกสารแต่ละมติมีจำนวนมาก ไอลอว์จึงไม่ได้ทำการขอคัดถ่ายเอกสารดังกล่าว ดังนั้น การประชุม 8 ครั้งแรกซึ่งมีการลงมติทั้งหมด 7 มติจะไม่ถูกนำมานับรวมกับ 145 มติในรายงานนี้
.
คนที่ไม่ได้มาลงมติมากที่สุดในบรรดา ส.ว.ทั้งสภา คือ พล.ร.อ.ลือชัย รุดดิษฐ์ เขาขาดการลงมติถึง 144 มติจาก 145 มติ แปลว่า เขาลงมติอยู่ครั้งเดียว
.
มติเดียวที่ พล.ร.อ.ลือชัย และส.ว.อีก 4 คนที่มีโควตาจากกองทัพ และตำรวจเข้ามาลงมติพร้อมกันมากที่สุด ก็คือเรื่อง พ.ร.ก.โอนอัตรากำลังพลและงบประมาณของกองทัพบกไปเป็นของส่วนราชการในพระองค์ โดยเป็นเรื่องที่ที่ประชุมวุฒิสภาจะพิจารณาว่าอนุมัติให้ พ.ร.ก.มีผลเป็น พ.ร.บ.หรือไม่
.
มติดังกล่าวเกิดขึ้นในการประชุม สมัยวิสามัญ ครั้งที่ 1 เป็นพิเศษ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2562 มี ส.ว. เข้าร่วมลงมติ 226 คน มีคนเห็นชอบ 223 คน งดออกเสียง 3 คน และ ไม่เห็นชอบ 0 คน มีคนขาด 24 คน ซึ่งถือว่ามีค่อนข้างต่ำมาก จากค่าเฉลี่ยแต่ละมติที่มักมีคนขาดประชุมอยู่ราว 63 คน
.
เรื่องนี้ยังเป็นมติเดียวจาก 145 เรื่องที่ ส.ว.เหล่าทัพเข้าไปลงมติในที่ประชุมพร้อมกันมากที่สุดคือ 5 คน ได้แก่ ผบ.ทบ. ผบ.สส. ปลัดกระทรวงกลาโหม ผบ.ตร. และ ผบ.ทร ส่วน ผบ.ทอ.นั้นขาดประชุม ที่ผ่านมาไม่เคยมีมติไหนที่ ส.ว.เหล่าทัพจะเข้าไปลงมติพร้อมกันเกิน 2 คน
.
อีกประเด็นที่น่าสนใจคือ การลงมติ พ.ร.ก.โอนกำลังพลฯ หลังจากที่ลงมติ พ.ร.ก.โอนกำลังพลฯ กันจบแล้ว พบว่า ในการลงมติถัดไปซึ่งเกิดขึ้นในวันเดียวกันนั้นเอง ปรากฏว่า ส.ว.ทหารตำรวจทั้ง 5 คน ไม่มีใครอยู่ร่วมลงมติเลย
.
อ่านทั้งหมดได้ที่: https://www.ilaw.or.th/node/5663
——————————
*ทั้งนี้ ข้อมูลทั้งหมดสังเคราะห์จากเอกสารบันทึกการลงมติรายบุคคลของ ส.ว. แต่เนื่องจากเอกสารนี้ไม่ได้เผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปค้นหาได้ในเว็ปไซต์ เพราะไม่ได้มีข้อบังคับ ส.ว.กำหนดไว้ไอลอว์จึงใช้สิทธิผ่าน พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 เพื่อขอข้อมูลจากสำนักเลขาธิการวุฒิสภา จากนั้นจึงได้คัดถ่ายบันทึกการลงมติรายบุคคลตั้งแต่การประชุมครั้งที่ 9 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง (5 สิงหาคม 2562 จนถึง การประชุมวุฒิสภาครั้งที่ 22 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง (24 กุมภาพันธ์ 2563) รวมการประชุม 34 ครั้ง 145 มติ
.
ส่วนบันทึกการลงมติรายบุคคลของ ส.ว. ในการประชุมครั้งที่ 1-8 สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง (24 พฤษภาคม 2562 – 15 กรกฎาคม 2562) เป็นการประชุมในสถานที่ชั่วคราว หอประชุมใหญ่บริษัททีโอที จำกัด(มหาชน) โดยใช้ระบบการลงคะแนนด้วยการเขียนลงกระดาษทั้งหมด เอกสารแต่ละมติมีจำนวนมาก ไอลอว์จึงไม่ได้ทำการขอคัดถ่ายเอกสารดังกล่าว ดังนั้น การประชุม 8 ครั้งแรกซึ่งมีการลงมติทั้งหมด 7 มติจะไม่ถูกนำมานับรวมกับ 145 มติในรายงานนี้
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar