« เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2012, 02:15:45 AM » โดย ลูกชาวนาไทย
|
ผมมีความรู้สึกว่าตอนนี้ฝ่ายประชาธิปไตยเรากล้วก ารตีโต้ของอำมาตย์เป็นอย่างยิ่ง แต่นั้นเป็นธรรมดาของการต่อสู้ ผมก็รู้สึกกังวลบ้างเหมือนกัน
เมื่อวานนี้อ่านสรรนิพนต์เหมา ว่าด้วยสงคราม ว่าด้วยความขัดแย้ง ก็มีเรื่องที่น่าสนใจดี แม้ผมจะไม่ค่อยเชื่อลัทธิมาร์กซิสต์ก็ตาม แต่ประสบการณ์ของคนอาจให้บทเรียนอะไรเราได้ แม้ว่า "ทฤษฎีของคนๆ นั้นความคิดของคนๆนั้น" เราอาจไม่เชื่อก็ตาม แต่ประสบการณ์ของเขา "ย่อมเป็นเรื่องจริงที่เขาเผชิญ" เป็นเหตุการณ์จริง มันย่อมบอกอะไรเราได้บ้าง
เมื่อครู่ผมเกิดนึกเป็นบทสรุปในใจขึ้นมา ได้ว่า "สังคมมนุษย์ทั้งหมดทั้งโลกนั้น พัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน" ไม่มีการแยก มีมีสองทิศทางเลย แม้มันจะมีสังคมพัฒนาเร็ว สังคมที่พัฒนาช้า สังคมที่ "ทดสอบทิศทางใหม่" แต่ในที่สุดทุกสังคมก็จะเรียนรู้ สรุปบทเรียนกันเองแล้ว ก็ไปในทางเดียวกัน
เราดูประวัติศาสตร์เท่าที่ เราเห็นก็ได้ ตั้งแต่ระบบครอบครัวแบบบรรพกาล ที่เราเห็นเหมือนในหนังเรื่อง "เทวดาท่าจะบ้องส์" นั่นเป็นสังคมแบบดั้งเดิมขนานแท้ที่ไม่เปลี่ยนแปลงมาก (แต่ก็เปลี่ยนบ้างแล้ว แต่ช้า) จนถึงสังคมที่ก้าวหน้า ระบบประธานาธิบดี เช่นสหรัฐอเมริกา หรือระบบสหภาพยุโรปรวมหลายประเทศเข้าด้วยกัน หรือแม้แต่องค์การสหประชาชาติ
จากครอบครัวขยายสู่เผ่า เมืองมีราชา รวมเป็นแคว้น เป็นราชอาณาจักร เป็นจักรวรรดิ์ ที่สุดก็เป็น สหพันธรัฐมีประธานาธิบดี
ไม่ มีสังคมใดหยุดกับที่เลย ที่สุดของระบอบปกครองคือ "ระบอบประธานาธิบดี" คือ หัวหน้าประเทศเลือกกันขึ้นมาอยู่ชั่วคราว จะเรียกชื่ออะไรก็ช่าง แต่ไม่ได้สืบสกุล นั่นเป็นพัฒนาการ
สังคมไทยก็ไม่มีความพิเศษแต่ อย่างใด ก็พัฒนาตามโลกเขามาตลอด จากพ่อเมือง มาสู่กษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาสู่ระบอบทหารคณาธิบไตย สู่ระบอบอำมาตยาธิปไตย และกำลังจะกลายเป็น "ประชาธิปไตย" อาจกระท่อนกระแท่น แต่มันก็เร็วขึ้นมาก
ดังนั้น ไทยไม่มีข้อยกเว้น
ในสรร นิพนธ์เหมาว่าด้วยความขัดแย้ง บอกว่า หากประชาชนขัดแย้งกับระบอบศักดินาเดิม แก้ไขได้ด้วย "การปฎิวัติประชาธิปไตย" ทุนขัดแย้งกรรมาชีพแก้ได้ด้วยการปฎิวัติสังคมนิยม ความขัดแย้งระหว่างเมืองขึ้นกับจักรพรรดินิยม แก้ได้ด้วยสงครามปฎิวัติประชาชาติ ความขัดแยังระหว่างกรรมกร กับชนชั้นชาวนาในสังคมนิยมแก้ได้ด้วยแปลงเกษตรกรรมให้เป็นระบบนารวมแล้วใช้ เครื่องจักรกล ความขัดแย้งในพรรคคอมมิวนิสต์(ในองค์กร) แก้ได้ด้วยการวิพาร์กตนเอง ความขัดแย้งระหว่างสังคมกับธรรมชาติ แก้ได้ด้วยการพัฒนาพลังการผลิต (วิทยาศาสตร์) นั่นเป็นความคิดของเหมา
แต่ ผมคิดว่าสังคมมนุษย์นั่นเรียนถ่ายทอดเรียนรู้ข้อมูลระหว่างกัน สมัยโบราณสังคมสื่อสารกันไม่ได้ ก็มีสังคมพัฒนาแปลกๆ แต่เมื่อสื่อสารกันได้ มนุษย์สรุปหาสิ่งที่ถูกต้อง (ไม่เคยสรุปหาสิ่งที่ผิดแล้วทำในสิ่งที่ผิด) แม้ตอนนี้ไม่ถูกเวลาผ่านไปก็ถูก แล้วเมื่อสังคมใดหาสิ่งที่ถูก สังคมอื่นก็จะเลืยนแบบพัฒนาตาม ภาษาคอมพิวเตอร์คือ มีการ Sync ข้อมูลให้สอดคล้องกันตลอดเวลา
สังคมไทยอำมาตย์แพ้แน่นอน ร้อยเปอร์เซนต์ ยิ่งดิ้นยิ่งเจ็บหนัก ไม่ดิ้น ก็เป็นแบบอังกฤษ ดิ้นก็แบบฝรั่งเศส ไม่มีทางอื่น นี่เป็นพัฒนาการทางสังคม เป็นกฎทางวิทยาศาสตร์สังคม ไม่มีหลักการยกเว้นใดๆ
เมื่อวานนี้อ่านสรรนิพนต์เหมา ว่าด้วยสงคราม ว่าด้วยความขัดแย้ง ก็มีเรื่องที่น่าสนใจดี แม้ผมจะไม่ค่อยเชื่อลัทธิมาร์กซิสต์ก็ตาม แต่ประสบการณ์ของคนอาจให้บทเรียนอะไรเราได้ แม้ว่า "ทฤษฎีของคนๆ นั้นความคิดของคนๆนั้น" เราอาจไม่เชื่อก็ตาม แต่ประสบการณ์ของเขา "ย่อมเป็นเรื่องจริงที่เขาเผชิญ" เป็นเหตุการณ์จริง มันย่อมบอกอะไรเราได้บ้าง
เมื่อครู่ผมเกิดนึกเป็นบทสรุปในใจขึ้นมา ได้ว่า "สังคมมนุษย์ทั้งหมดทั้งโลกนั้น พัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน" ไม่มีการแยก มีมีสองทิศทางเลย แม้มันจะมีสังคมพัฒนาเร็ว สังคมที่พัฒนาช้า สังคมที่ "ทดสอบทิศทางใหม่" แต่ในที่สุดทุกสังคมก็จะเรียนรู้ สรุปบทเรียนกันเองแล้ว ก็ไปในทางเดียวกัน
เราดูประวัติศาสตร์เท่าที่ เราเห็นก็ได้ ตั้งแต่ระบบครอบครัวแบบบรรพกาล ที่เราเห็นเหมือนในหนังเรื่อง "เทวดาท่าจะบ้องส์" นั่นเป็นสังคมแบบดั้งเดิมขนานแท้ที่ไม่เปลี่ยนแปลงมาก (แต่ก็เปลี่ยนบ้างแล้ว แต่ช้า) จนถึงสังคมที่ก้าวหน้า ระบบประธานาธิบดี เช่นสหรัฐอเมริกา หรือระบบสหภาพยุโรปรวมหลายประเทศเข้าด้วยกัน หรือแม้แต่องค์การสหประชาชาติ
จากครอบครัวขยายสู่เผ่า เมืองมีราชา รวมเป็นแคว้น เป็นราชอาณาจักร เป็นจักรวรรดิ์ ที่สุดก็เป็น สหพันธรัฐมีประธานาธิบดี
ไม่ มีสังคมใดหยุดกับที่เลย ที่สุดของระบอบปกครองคือ "ระบอบประธานาธิบดี" คือ หัวหน้าประเทศเลือกกันขึ้นมาอยู่ชั่วคราว จะเรียกชื่ออะไรก็ช่าง แต่ไม่ได้สืบสกุล นั่นเป็นพัฒนาการ
สังคมไทยก็ไม่มีความพิเศษแต่ อย่างใด ก็พัฒนาตามโลกเขามาตลอด จากพ่อเมือง มาสู่กษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาสู่ระบอบทหารคณาธิบไตย สู่ระบอบอำมาตยาธิปไตย และกำลังจะกลายเป็น "ประชาธิปไตย" อาจกระท่อนกระแท่น แต่มันก็เร็วขึ้นมาก
ดังนั้น ไทยไม่มีข้อยกเว้น
ในสรร นิพนธ์เหมาว่าด้วยความขัดแย้ง บอกว่า หากประชาชนขัดแย้งกับระบอบศักดินาเดิม แก้ไขได้ด้วย "การปฎิวัติประชาธิปไตย" ทุนขัดแย้งกรรมาชีพแก้ได้ด้วยการปฎิวัติสังคมนิยม ความขัดแย้งระหว่างเมืองขึ้นกับจักรพรรดินิยม แก้ได้ด้วยสงครามปฎิวัติประชาชาติ ความขัดแยังระหว่างกรรมกร กับชนชั้นชาวนาในสังคมนิยมแก้ได้ด้วยแปลงเกษตรกรรมให้เป็นระบบนารวมแล้วใช้ เครื่องจักรกล ความขัดแย้งในพรรคคอมมิวนิสต์(ในองค์กร) แก้ได้ด้วยการวิพาร์กตนเอง ความขัดแย้งระหว่างสังคมกับธรรมชาติ แก้ได้ด้วยการพัฒนาพลังการผลิต (วิทยาศาสตร์) นั่นเป็นความคิดของเหมา
แต่ ผมคิดว่าสังคมมนุษย์นั่นเรียนถ่ายทอดเรียนรู้ข้อมูลระหว่างกัน สมัยโบราณสังคมสื่อสารกันไม่ได้ ก็มีสังคมพัฒนาแปลกๆ แต่เมื่อสื่อสารกันได้ มนุษย์สรุปหาสิ่งที่ถูกต้อง (ไม่เคยสรุปหาสิ่งที่ผิดแล้วทำในสิ่งที่ผิด) แม้ตอนนี้ไม่ถูกเวลาผ่านไปก็ถูก แล้วเมื่อสังคมใดหาสิ่งที่ถูก สังคมอื่นก็จะเลืยนแบบพัฒนาตาม ภาษาคอมพิวเตอร์คือ มีการ Sync ข้อมูลให้สอดคล้องกันตลอดเวลา
สังคมไทยอำมาตย์แพ้แน่นอน ร้อยเปอร์เซนต์ ยิ่งดิ้นยิ่งเจ็บหนัก ไม่ดิ้น ก็เป็นแบบอังกฤษ ดิ้นก็แบบฝรั่งเศส ไม่มีทางอื่น นี่เป็นพัฒนาการทางสังคม เป็นกฎทางวิทยาศาสตร์สังคม ไม่มีหลักการยกเว้นใดๆ
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar