torsdag 11 december 2014

Isaan people use Human Rights Festival to air grievances in time of martial law and censorshipนักการทูตตะวันตกจัดสัมมนาในงาน “เทศกาลประจำปีสิทธิมนุษยชนอีสาน ครั้งที่ 7”.....กอ.รมน. อยู่ไหน? ทำไมกับประชาชนไทยทั้งห้ามทั้งไล่จับไล่ยัดเยียดข้อหา?


ThaiE-News


[​IMG]




[​IMG]


Isaan people use Human Rights Festival to air grievances in time of martial law and censorship






2014 DECEMBER 11
by The Isaan Record

Khon Kaen– Despite concerns from the military, about 400 people from thirteen provinces participated in the 7th Annual Isaan Human Rights Festival held yesterday at Kwanmor Hotel in Khon Kaen. New to the festival this year was the participation of diplomats from the United Kingdom, Canada, New Zealand, the European Union, Sweden, and the United States.

The event, funded primarily by European Union’s “Thailand-EU Policy Dialogues Support Facility” program, has been organized almost every year since 2006 to commemorate International Human Rights Day. Event organizers say the annual festival has provided a venue for communities and networks to come together to share their human rights situation and make demands.

The morning session began with an opening statement by Mr. Jarrod Weir of the EU, and talks by Ms. Anne-Charlotte Malm, head of Sweden’s regional SIDA program, and Mr. Norman Pflanz, a human rights officer from the United States.

The “Ambassadors’ Forum on Human Rights” followed, featuring Mr. Mark Kent, UK ambassador to Thailand, Ambassador Philip Calvert of Canada, and New Zealand Ambassador Reuben Levermore.

From left to right: Mr. Hanno Trayhurn, Political Officer, British Embassy; Mr. Norman Pflanz,; Ms. Camilla Ottosson, Human Rights Officer, Swedish Embassy; Ms. Anne-Charlotte Malm; Ambassador Mark Kent; Ambassador Philip Calvert; Ambassador Reuben Levermore; Mr. Jarrod Weir

นักการทูตตะวันตกจัดสัมมนาในงาน “เทศกาลประจำปีสิทธิมนุษยชนอีสาน ครั้งที่ 7” ที่ขอนแก่น ในวันสิทธิมนุษยชนวันนี้ ซึ่งตรงกับวันรัฐธรรมนูญของไทย นักการทูตที่เข้าร่วมงาน มีอาทิ เอกอัครราชทูตแคนาดา นิวซีแลนด์ สหราชอาณาจักร

นายมาร์ค เคนท์ เอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย ระบุการดำเนินกระบวนการปฏิรูปของไทยจำเป็นต้องเคารพหลักสิทธิมนุษยชน ให้เสรีภาพสื่อ เสรีภาพในการรวมตัวและการแสดงออก ด้านแอมเนสตี้ฯ ชี้เกิดวงจรแห่งความเงียบงันในไทย

นายเคนท์ บอกกับบีบีซีว่า บทบาทของชุมชนระหว่างประเทศคือไม่แทรกแซงกิจการภายในของไทย และไทยจะต้องหาทางจัดการกับความท้าทายที่เผชิญอยู่เอง แต่เขาเห็นว่าการจัดสัมมนาในลักษณะนี้เป็นการเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยน ข้อมูลความเห็น ในการแก้ปัญหาโดยที่คนในชุมชนก็มีโอกาสเปิดเผยปัญหาที่เผชิญอยู่ให้ได้รับ รู้

ด้านนายริชาร์ด เบนเน็ต ผู้อำนวยการภาคพื้นเอเชียแปซิฟิกแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล บอกว่าขณะนี้กำลังเห็นวงจรแห่งความเงียบงันเกิดขึ้นในประเทศไทย มีการเพิ่มเงื่อนไขอย่างต่อเนื่องเพื่อจำกัดเสรีภาพในการพูดและปิดกั้นการ แสดงออกของภาคประชาสังคมที่เคยมีความเคลื่อนไหวอย่างเข้มแข็ง

นายเบนเน็ตเห็นว่าการปฏิเสธไม่ให้พื้นที่เพื่อการถกเถียง และการคุมขังผู้วิพากษ์วิจารณ์อย่างสงบ โดยใช้กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวดจะไม่ช่วยนำไปสู่ความปรองดอง แห่งชาติตามที่ทางการสัญญาว่าจะทำให้เกิดขึ้น

ทั้งนี้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เคยกล่าวในรายการคืนความสุขให้คนในชาติเมื่อเดือนกรกฎาคมว่า ต้องการให้ต่างชาติทราบว่าไทยมิได้ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงแต่ประการ ใด ไม่มีนโยบายให้เกิดการทำร้าย ทารุณอย่างรุนแรงต่อศักดิ์ศรีมนุษย์ การฆ่า การทรมาน การข่มขืน แต่ในสภาวะไม่ปกติเช่นนี้ มีความจำเป็นในบางเรื่องที่อาจจะส่งผลกระทบอยู่บ้างต่อสิทธิ์ของประชาชน เช่น การกำหนดให้สื่อมีความระมัดระวังในการเสนอข่าว

ภาพประกอบโดยสถานทูตอังกฤษประจำประเทศไทย
https://www.facebook.com/BBCThai/posts/1587115398176161

Inga kommentarer:

Skicka en kommentar