เปิดปมพลังงาน ชาวบ้านสู้กับใคร ???
รายงานข้อมูลแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ ที่รายงานโดย U.S. Department of Energy ประเมินและวิเคราะหข้อมูลโดย EIA หรือ U.S. Energy Information Administration
เอกสารทั้งหมด มี 730 หน้า รายงานแหล่งพลังงานใต้ดินทั่วโลก
ในส่วนของประเทศไทย อยู่ที่หน้า 621 - 638 ซึ่งใช้ข้อมูลจากการสำรวจของ PTTEP และข้อมูลจากบริษัทอเมริกันที่ขุดเจาะก๊าซ รวมถึงปิโตรเลียมในประเทศไทย รายงานฉบับเต็ม
คลิก-http://www.eia.gov/analysis/studies/worldshalegas/pdf/fullreport.pdf?zscb=29481773
หมายเหตุไทยอีนิวส์ : ไทยอีนิวส์ได้ Edit ข้อความบางตอนออก เลยขออภัยเจ้าของโพสต์มา ณ ที่นี้ด้วย และขอขอบคุณเจ้าของโพสต์ที่ได้นำข้อมูลมาแชร์ ในขณะเดียวกันบางข้อมูลไทยอีนิวส์ไม่สามารถ verify ได้ จึงขอเรียนมาเพื่อทราบ
ที่มา:
คลิกอ่านทั้งหมด-กูต้องได้ 100 ล้าน จากทักษิณแน่ๆ
ที่มา:
คลิกอ่านทั้งหมด-กูต้องได้ 100 ล้าน จากทักษิณแน่ๆ
กระทรวงพลังงานต่างก็รู้เรื่องเหล่านี้เป็นอย่างดี ประยุทธ์เองก็เคยเป็นประธานกำกับนโยบายของไทยออยล์ มีหรือที่ประยุทธ์จะไม่ทราบข้อมูลเรื่องพลังงานเหล่านี้ บริษัท อพิโก้ (โคราช) จำกัด ดังนั้นไม่ต้อง งง เรื่องนี้มันต่อเนื่องยาวนานมาแล้ว
แปลงสัมปทาน L27/43 และ 15/43
1. เปิดขายสัมปทานในรัฐบาลชวนหลีกภัย พรรคประชาธิปัตย์
2. ลงนามสัญญาต่อเนื่องในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร
3. ให้สัมปทานเพิ่มในรัฐบาลสุรยุทธ์ จุลานนท์
4. ยิ่งลักษณ์ไม่ยอมเขยื้อนเคลื่อนไหว สนใจแต่ประชาชน เลยโดนซะ และกำลังจะให้เพิ่มอีกในรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา
บริษัทเฮสส์ อพิโก คอสเทล เทเท็กซ์ เชฟรอน เกี่ยวข้องกันแบบคนละบริษัท อพิโก้ (โคราช) จำกัด และ อพิโก้ แอลแอลซี แต่กระเป๋าใหญ่ใบเดียวกัน โดยมี ปตท. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน เป็นเจ้าภาพ และนายกแต่ละคนก็ทำหน้าที่อวยชัยให้เป็นอย่างดี
คำถามคือว่า ทำไม ? (ยังไม่ตอบนะอ่านไปจนจบ แล้วจะร้อง อ๋อ...)
บริษัทพลังงานข้ามชาตินี้ เป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน เครือเชฟรอน อิอิ
และจากรายงาน ของ U.S. EIA พบว่า มีก๊าซใต้ดินที่พบแล้ว และประเมินว่ามีมากถึง 3 ล้านล้าน ลบ.ฟุต คิดเป็นมูลค่าราว 7 แสนล้าน และยังมีแหล่ง shale gas อยู่ในชั้นหินดินดานลึกลงไปจากชั้นปกติ เท่ากับได้โชคสองชั้นในการซื้อสัมปทานครั้งเดียว เพราะประเทศไทยไม่มีกฎหมายที่ครอบคุลมแหล่งทรัพยากรเหล่านี้ มีแต่กฎหมายยกให้ทำประโยชน์ โดยประเทศเสียเปรียบ และสหรัฐอเมริกา โดยหน่วยงานธรณีวิทยา USGS มีข้อมูลแหล่งปิโตรเลียมไทยและประเทศในอเซียนอยู่แล้ว จึงเกาะติดไทยไม่ปล่อยวาง เพราะไทยถือเป็นแหล่งใหญ่ของอาเซียน
คู่กรณีของชาวบ้าน จึงเป็นบริษัทข้ามชาติสหรัฐอเมริกา และรัฐบาล คสช. ที่ยินยอมให้เข้ามาแสวงประโยชน์จากทรัพยากรใต้ผืนดิน
หากจะกล่าวโทษว่า ทำไมรัฐบาลต่างๆ จึงปล่อยบริษัทสหรัฐฯ เข้ามาหาประโยชน์บนผืนแผ่นดินไทยได้ ไอ้พวกนักการเมืองมันเลว โดยไม่ดูบริบทที่ว่า ‘สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ มีความเชื่อมโยงอย่างไรกับเหตุการณ์นี้ ก็ดูจะตอแหลไปหน่อย เพราะว่าบริษัทพลังงานของไทยนั้น มีความเชื่อมโยงอย่างแยกขาดออกจากกันไม่ได้ เพราะ ปตท. สผ. หรือ จะว่าไปก็คือ ปตท.ใหญ่ด้วยนั่นแหละ
อันนี้ กรณีก๊าซธรรมชาติที่ ‘สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นสำคัญ
บริษัท ปตท. จำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จำกัด http://www.pttngd.co.th/2014_pttngd/about.php?page=history&lang=th
และเมื่อ 4 ก.ค. 2557 ก็มีชื่อของ ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานบอร์ด ของ ปตท.
บอร์ด ปตท. http://www.pttplc.com/th/About/Organization/Pages/PTT-committee.aspx
ข่าวตั้งบอร์ด ปตท. http://www.thairath.co.th/content/434210
บริษัทเฮสส์ อพิโก คอสเทล เทเท็กซ์ เชฟรอน เกี่ยวข้องกันแบบคนละบริษัท อพิโก้ (โคราช) จำกัด และ อพิโก้ แอลแอลซี แต่กระเป๋าใหญ่ใบเดียวกัน โดยมี ปตท. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน เป็นเจ้าภาพ และนายกแต่ละคนก็ทำหน้าที่อวยชัยให้เป็นอย่างดี
คำถามคือว่า ทำไม ? (ยังไม่ตอบนะอ่านไปจนจบ แล้วจะร้อง อ๋อ...)
บริษัทพลังงานข้ามชาตินี้ เป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน เครือเชฟรอน อิอิ
และจากรายงาน ของ U.S. EIA พบว่า มีก๊าซใต้ดินที่พบแล้ว และประเมินว่ามีมากถึง 3 ล้านล้าน ลบ.ฟุต คิดเป็นมูลค่าราว 7 แสนล้าน และยังมีแหล่ง shale gas อยู่ในชั้นหินดินดานลึกลงไปจากชั้นปกติ เท่ากับได้โชคสองชั้นในการซื้อสัมปทานครั้งเดียว เพราะประเทศไทยไม่มีกฎหมายที่ครอบคุลมแหล่งทรัพยากรเหล่านี้ มีแต่กฎหมายยกให้ทำประโยชน์ โดยประเทศเสียเปรียบ และสหรัฐอเมริกา โดยหน่วยงานธรณีวิทยา USGS มีข้อมูลแหล่งปิโตรเลียมไทยและประเทศในอเซียนอยู่แล้ว จึงเกาะติดไทยไม่ปล่อยวาง เพราะไทยถือเป็นแหล่งใหญ่ของอาเซียน
คู่กรณีของชาวบ้าน จึงเป็นบริษัทข้ามชาติสหรัฐอเมริกา และรัฐบาล คสช. ที่ยินยอมให้เข้ามาแสวงประโยชน์จากทรัพยากรใต้ผืนดิน
หากจะกล่าวโทษว่า ทำไมรัฐบาลต่างๆ จึงปล่อยบริษัทสหรัฐฯ เข้ามาหาประโยชน์บนผืนแผ่นดินไทยได้ ไอ้พวกนักการเมืองมันเลว โดยไม่ดูบริบทที่ว่า ‘สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ มีความเชื่อมโยงอย่างไรกับเหตุการณ์นี้ ก็ดูจะตอแหลไปหน่อย เพราะว่าบริษัทพลังงานของไทยนั้น มีความเชื่อมโยงอย่างแยกขาดออกจากกันไม่ได้ เพราะ ปตท. สผ. หรือ จะว่าไปก็คือ ปตท.ใหญ่ด้วยนั่นแหละ
อันนี้ กรณีก๊าซธรรมชาติที่ ‘สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นสำคัญ
บริษัท ปตท. จำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จำกัด http://www.pttngd.co.th/2014_pttngd/about.php?page=history&lang=th
และเมื่อ 4 ก.ค. 2557 ก็มีชื่อของ ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานบอร์ด ของ ปตท.
บอร์ด ปตท. http://www.pttplc.com/th/About/Organization/Pages/PTT-committee.aspx
ข่าวตั้งบอร์ด ปตท. http://www.thairath.co.th/content/434210
ข้อมูลล้วงลูก สืบโคตรเหง้า
ดร.ปิยสวัสดิ์ (ป๊อก) เป็นบุตรชายคนโตของ ปรก อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศ (ในสมัยรัฐบาลของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) และอดีตเอกอัครราชทูตฯ กับหม่อมราชวงศ์ปิ่มสาย อัมระนันทน์ (สกุลเดิม: สวัสดิวัตน์)
ไอ้ ดร.ปิยสวัสดิ์ จึงมีศักดิ์เป็นหลานตาของหม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์
ดร.ปิยสวัสดิ์ สมรสกับ อานิก อัมระนันทน์ (สกุลเดิม: วิเชียรเจริญ เป็นบุตรสาวของศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ และ แม่ชีคุณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ) อดีตผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการเงิน บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย
และนอกจากนี้ อานิก อัมระนันท์ ยังเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ #พรรคประชาธิปัตย์ กรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นผู้ดูแลเว็บไซต์ส่วนตัวของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นางอานิก อัมระนันทน์ หลังเรียนจบก็เริ่มทำงานที่นิตยสารเกี่ยวกับธุรกิจเล่มหนึ่ง ทำอยู่ 6 เดือนก็เปลี่ยนไปทำงานที่ธนาคารเชสแมน แฮตตัน และย้ายไปทำงานที่บริษัท เชลล์ (ขายน้ำมัน) ที่อังกฤษ ในตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations Manager, UK) สำนักงานใหญ่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และอีกช่วงกับเชลล์ สหราชอาณาจักร และกลับมาทำงานที่บริษัท เชลล์ ประเทศไทย ในตำแหน่ง Finance Director (CFO) ทำงานกับบริษัทเชลล์ กว่า 20 ปี และออกมาเล่นการเมืองใต้ร่มเงาของพรรคประชาธิปัตย์
กล่าวโดยสรุปโดยกูได้ว่า ‘อานิก’ เชี่ยวชาญด้านการเงินของบริษัทปิโตรเลียม การโยกย้ายถ่ายทรัพย์ และการหลีกเลี่ยงการตรวจสอบทางบัญชีเป็นอย่างดี ปิยสวัสด์เป็นลูกปรก --> ปรกเป็นรัฐมนตรีสมัยเปรม --> เมียปิยสวัสดิ์ชื่ออานิก เชี่ยวชาญด้านการเงิน บัญชีบริษัท เชลล์ (ค้าน้ำมัน) --> อานิกเป็น ส.ส. อยู่พรรคประชาธิปัตย์ -->พรรคประชาธิปัตย์สมัยชวนเป็นคนเปิดสัมปทานก๊าซและปิโตรเลียมให้สหรัฐ --> ปิยสวัสดิ์เป็นรัฐมนตรีกระทรวงพลังงานยุคสุรยุทธ์ จุลานนท์ ที่ต่อสัญญาสัมปทาน --> สุรยุทธ์เคย ทส. เก่าของเปรม และยังเป็นองคมนตรีด้วยกันอีกต่างหาก --> สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้าถือหุ้น ปตท. --> ปิยสวัสดิ์ได้มานั่งประธานบอร์ด ปตท. ในยุค คสช. --> เปรมเพิ่งออกมาพูดห่าเหวอะไรไม่รู้
ปิยสวัสดิ์จึงสัมพันธ์กับเปรม สุรยุทธ์ สำนักงานทรัพย์สินฯ และ ประชาธิปัตย์ อย่างแนบแน่น แบบที่เรียกว่า ‘แยกกันแทบไม่ออกและการส่งปิยสวัสดิ์มาคุม ปตท. ก็เพื่อจะ ปิดจ๊อบที่ค้างคามาเป็นสิบปีให้สำเร็จลงได้สักที
เข้าใจอะไรมาขึ้นรึยังน่ะ ???
ทีนี้ ก็ไม่ต้องแปลกใจแล้วว่าอุปกรณ์ขุดเจาะก๊าซของบริษัท อพิโก้ (โคราช) จำกัด ทำไมถึงเอาไปเก็บไว้ในค่าย ‘ติณสูลานนท์’ ที่ขอนแก่น และทำไมพันเอกจตุรพงศ์ บก.บน. รอง ผอ.รมน. จ.ขอนแก่น ถึงต้องออกมาควบคุมการดำเนินการด้วยตนเอง
ทีนี้ รู้หรือยังว่า ‘ชาวบ้านสู้กับใคร’
อีพวกเครือข่ายนางสาวรสนา และ/หรือ เครือข่ายพลังงานเห่อหมอยทั้งหลาย หวังว่าพวกมึงจะตาสว่างโร่ๆ ราวกับกูเอาคบเพลิงไปแยงตามึง พร้อมด้วยประโยคพูดลอยๆ แบบหนังจีนส่งท้าย #ท่านแม่เอาไปเร่ขายตั้งนานแล้วโว้ย
ทีนี้ ถ้าใครอ่านจบแล้วรักชาติ มีความหวงแหนในทรัพยากรแผ่นดิน โปรดช่วยกูแชร์ออกไปด้วยเถิด หาไม่แล้วกูคงหมดกำลังใจเขียน
ปล. เพิ่มเติมข้อมูล
(เป็นสาเหตุของน้ำมันแพง เนื่องเพราะกลายสภาพเป็นบริษัทต้องการค้ากำไร)
ขัดตีนใครหลายๆ คน - จนเทวดา และขี้ข้าเทวดาหลายตนทนไม่ไหว
จบ
ดร.ปิยสวัสดิ์ (ป๊อก) เป็นบุตรชายคนโตของ ปรก อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศ (ในสมัยรัฐบาลของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) และอดีตเอกอัครราชทูตฯ กับหม่อมราชวงศ์ปิ่มสาย อัมระนันทน์ (สกุลเดิม: สวัสดิวัตน์)
ไอ้ ดร.ปิยสวัสดิ์ จึงมีศักดิ์เป็นหลานตาของหม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์
ดร.ปิยสวัสดิ์ สมรสกับ อานิก อัมระนันทน์ (สกุลเดิม: วิเชียรเจริญ เป็นบุตรสาวของศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ และ แม่ชีคุณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ) อดีตผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการเงิน บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย
และนอกจากนี้ อานิก อัมระนันท์ ยังเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ #พรรคประชาธิปัตย์ กรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นผู้ดูแลเว็บไซต์ส่วนตัวของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นางอานิก อัมระนันทน์ หลังเรียนจบก็เริ่มทำงานที่นิตยสารเกี่ยวกับธุรกิจเล่มหนึ่ง ทำอยู่ 6 เดือนก็เปลี่ยนไปทำงานที่ธนาคารเชสแมน แฮตตัน และย้ายไปทำงานที่บริษัท เชลล์ (ขายน้ำมัน) ที่อังกฤษ ในตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations Manager, UK) สำนักงานใหญ่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และอีกช่วงกับเชลล์ สหราชอาณาจักร และกลับมาทำงานที่บริษัท เชลล์ ประเทศไทย ในตำแหน่ง Finance Director (CFO) ทำงานกับบริษัทเชลล์ กว่า 20 ปี และออกมาเล่นการเมืองใต้ร่มเงาของพรรคประชาธิปัตย์
กล่าวโดยสรุปโดยกูได้ว่า ‘อานิก’ เชี่ยวชาญด้านการเงินของบริษัทปิโตรเลียม การโยกย้ายถ่ายทรัพย์ และการหลีกเลี่ยงการตรวจสอบทางบัญชีเป็นอย่างดี ปิยสวัสด์เป็นลูกปรก --> ปรกเป็นรัฐมนตรีสมัยเปรม --> เมียปิยสวัสดิ์ชื่ออานิก เชี่ยวชาญด้านการเงิน บัญชีบริษัท เชลล์ (ค้าน้ำมัน) --> อานิกเป็น ส.ส. อยู่พรรคประชาธิปัตย์ -->พรรคประชาธิปัตย์สมัยชวนเป็นคนเปิดสัมปทานก๊าซและปิโตรเลียมให้สหรัฐ --> ปิยสวัสดิ์เป็นรัฐมนตรีกระทรวงพลังงานยุคสุรยุทธ์ จุลานนท์ ที่ต่อสัญญาสัมปทาน --> สุรยุทธ์เคย ทส. เก่าของเปรม และยังเป็นองคมนตรีด้วยกันอีกต่างหาก --> สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้าถือหุ้น ปตท. --> ปิยสวัสดิ์ได้มานั่งประธานบอร์ด ปตท. ในยุค คสช. --> เปรมเพิ่งออกมาพูดห่าเหวอะไรไม่รู้
ปิยสวัสดิ์จึงสัมพันธ์กับเปรม สุรยุทธ์ สำนักงานทรัพย์สินฯ และ ประชาธิปัตย์ อย่างแนบแน่น แบบที่เรียกว่า ‘แยกกันแทบไม่ออกและการส่งปิยสวัสดิ์มาคุม ปตท. ก็เพื่อจะ ปิดจ๊อบที่ค้างคามาเป็นสิบปีให้สำเร็จลงได้สักที
เข้าใจอะไรมาขึ้นรึยังน่ะ ???
ทีนี้ ก็ไม่ต้องแปลกใจแล้วว่าอุปกรณ์ขุดเจาะก๊าซของบริษัท อพิโก้ (โคราช) จำกัด ทำไมถึงเอาไปเก็บไว้ในค่าย ‘ติณสูลานนท์’ ที่ขอนแก่น และทำไมพันเอกจตุรพงศ์ บก.บน. รอง ผอ.รมน. จ.ขอนแก่น ถึงต้องออกมาควบคุมการดำเนินการด้วยตนเอง
ทีนี้ รู้หรือยังว่า ‘ชาวบ้านสู้กับใคร’
อีพวกเครือข่ายนางสาวรสนา และ/หรือ เครือข่ายพลังงานเห่อหมอยทั้งหลาย หวังว่าพวกมึงจะตาสว่างโร่ๆ ราวกับกูเอาคบเพลิงไปแยงตามึง พร้อมด้วยประโยคพูดลอยๆ แบบหนังจีนส่งท้าย #ท่านแม่เอาไปเร่ขายตั้งนานแล้วโว้ย
ทีนี้ ถ้าใครอ่านจบแล้วรักชาติ มีความหวงแหนในทรัพยากรแผ่นดิน โปรดช่วยกูแชร์ออกไปด้วยเถิด หาไม่แล้วกูคงหมดกำลังใจเขียน
ปล. เพิ่มเติมข้อมูล
ในบริษัทลูกของ ปตท. มีบริษัท นอมินี ของ สนง.ทรัพย์สินถือหุ้นอีกหลายแห่ง
สำนักงานทรัพย์สิน > ลงทุนในนอมินี
นอมินี > ไปร่วมทุนกับ ปตท. ย่อยๆ
เวลาค้นหาโดย SET จะเจอบริษัท นอมินี กับ ปตท.
ถ้าจะค้นให้ลึก ต้องค้นรายบริษัทที่ถือหุ้น ปตท. และถ้าจะดูให้ครบต้องดูบริษัทลูกของ ปตท.ด้วย ขายก๊าซ ขายน้ำมัน โรงกลั่น ดูให้ครบ
อย่างธุรกิจโรงกลั่นไทยออยล์ สมัยอานันท์ก็ขายถูกๆ ปัจจุบันแพงระยับมหาศาล แถมเป็นบริษัทในเครือ ปตท.อานันท์มาจากไหน ใครตั้ง ก็นายกพระราชทานไง อานันท์ ปันยารชุน นั่นล่ะ http://www.pttngd.co.th/2014_pttngd/about.php?page=shareholders
หาดูไปเรื่อยๆ เถอะจ้ะ แล้วจะพบเงื่อนงำ
เพิ่มเติมข้อมูล รอบสอง ยุครัฐบาลเปรม ติณสูลานนท์ (3 มีนาคม 2523 - 4 สิงหาคม 2531) แม้ช่วงแรกๆ ต้องเข้ามาแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องมา แต่ไม่ช้าสถานการณ์ได้เข้ารูปเข้ารอย แผนการใหญ่จึงเริ่มต้นอย่างมียุทธศาสตร์
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ถูกวางตัวเข้ามาดูแลยุทธศาสตร์ใหญ่ ในฐานะรัฐมนตรีช่วยว่าการอุตสาหกรรม (11 มีนาคม 2524 - 19 กันยายน 2528) รัฐมนตรีว่าการอุตสาหกรรม (19 กันยายน 2528 - 11 สิงหาคม 2529) และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ (11 สิงหาคม 2529 - 27 กรกฎาคม 2530)
พิมพ์เขียวใหญ่ของชาติว่าด้วยโครงการปิโตรเคมีแห่งชาติ (Petrochemical Complex) ถูกร่างขึ้น ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญ ในขณะเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และเป็นประธานคณะอนุกรรมการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และเข้าสู่ระยะหัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญในฐานะรัฐมนตรีว่าการอุตสาหกรรม ปัจจุบันดร.จิรายุ คือผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (2530 - ปัจจุบัน) และประธานกรรมการบริษัทปูนซิเมนต์ไทยในช่วงสำคัญ (2541-2 และ 2550- ปัจจุบัน)เดือนมิถุนายนปี 2526 คณะอนุกรรมการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เสนอรายงานถึงความพร้อมของประเทศไทย ในการดำเนินโครงการ และผลตอบแทนที่คุ้มค่า พร้อมเสนอรูปแบบการลงทุนภายใต้โครงสร้างร่วมมือระหว่างรัฐกับเอกชนในการลงทุนผลิตภัณฑ์ขั้นต้น (Up Stream) และให้เอกชนลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง (Dawn Stream)
คณะอนุกรรมการชุดเดียวกันได้คัดเลือกผู้ร่วมทุนฝ่ายเอกชนขึ้นมา 4 ราย เพื่อร่วมถือหุ้นในบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ ถูกตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2526 อย่างเป็นรูปเป็นร่าง ด้วยการลงนามร่วมทุนฝ่ายรัฐและเอกชน โครงสร้างผู้ถือหุ้นน่าสนใจ ปตท. ถือหุ้นใหญ่ที่สุด 49% เอกชน 4 รายถือหุ้นรวมกัน 49% ที่สำคัญสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ถือหุ้น 2% แม้ถือหุ้นจำนวนน้อยแต่ถือว่าอยู่ในฐานะทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญในกรณีเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐกับเอกชน
ปตท. คงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในกิจการอุตสาหกรรมตั้งต้นของปิโตรเคมีต่อไป เมื่อ Petrochemical Complex พัฒนาอย่างมั่นคงและดูมีอนาคตมากขึ้น เป็นการลงทุนในช่วงที่ ปตท. มีฐานะทางการเงินที่ดี และมองว่าเป็นการลงทุนที่ควรได้รับผลตอบแทนในระยะยาวทีดี
- 25 ธันวาคม 2532 ก่อตั้งบริษัทอะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) ดำเนินโครงการผลิตสารอะโรเมติกส์ (Aromatics) แห่งแรกของประเทศไทย ตามนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ 2 โดย ปตท. แม้ไม่ใช่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่โดยตรงแต่ก็มีสัดส่วนพอสมควร 25% โดยไทยออยล์ (ปตท. เข้ามาถือหุ้นในไทยออยล์ตั้งแต่ปี 2523 มีสัดส่วน 49% โดยมีสำนักงานทรัพย์สินฯถือหุ้น 2% ด้วย) ถือหุ้นใหญ่ทีสุด 40% และ Exxon Chemical Eastern Inc. 35%
– 5 มกราคม 2533 ก่อตั้งบริษัท ไทยโอเลฟินส์ ผู้ผลิตโอเลฟินส์แห่งที่สอง (ต่อจ่ากบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ) โดยมี ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 40% บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ 11 % (โดย ปตท. ถือหุ้นในบริษัทนี้ 49%) และกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่สำคัญ ได้แก่ บริษัทบางกอกโพลีเอทิลีน (กิจการในเครือศรีกรุงวัฒนาและธนาคารกรุงเทพ) 11.7% บริษัทในเครือซิเมนต์ไทย 3.82 % (ปีต่อมาได้รับการจัดสรรเพิ่มขึ้นเป็น 8.59%) บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย (ทีพีไอ) 6.86% และบริษัท วินิไทย (กิจการร่วมทุนระหว่าง Solvay Vinyls Holding AG แห่งเบลเยี่ยม กับซีพี) 5.29%
เพิ่มเติมอีกรอบ http://www.eppo.go.th/vrs/VRS54-06-ptt.html
เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2544 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ รับทราบผลการประชุมการระดมความคิดเห็นเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาตลาดทุน ซึ่งเห็นชอบแผนเตรียมความพร้อมในการนำรัฐวิสาหกิจเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยในจำนวนนี้มี การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบที่จะนำเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างช้าภายในเดือนพฤศจิกายน 2544
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันหารือถึงการกำหนดโครงสร้างและขั้นตอนในการแปรสภาพ ปตท. เป็น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) โดยอาศัยพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐบาลที่ต้องการนำ ปตท. เข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ภายในปี 2544 เพื่อให้ประชาชนชาวไทยสามารถเป็นเจ้าของร่วมกัน โดยให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน ความรับผิดชอบ พนักงาน ลูกจ้าง และส่วนธุรกิจทั้งหมดของ ปตท. ไปเป็น บมจ.ปตท. แทน
สำนักงานทรัพย์สิน > ลงทุนในนอมินี
นอมินี > ไปร่วมทุนกับ ปตท. ย่อยๆ
เวลาค้นหาโดย SET จะเจอบริษัท นอมินี กับ ปตท.
ถ้าจะค้นให้ลึก ต้องค้นรายบริษัทที่ถือหุ้น ปตท. และถ้าจะดูให้ครบต้องดูบริษัทลูกของ ปตท.ด้วย ขายก๊าซ ขายน้ำมัน โรงกลั่น ดูให้ครบ
อย่างธุรกิจโรงกลั่นไทยออยล์ สมัยอานันท์ก็ขายถูกๆ ปัจจุบันแพงระยับมหาศาล แถมเป็นบริษัทในเครือ ปตท.อานันท์มาจากไหน ใครตั้ง ก็นายกพระราชทานไง อานันท์ ปันยารชุน นั่นล่ะ http://www.pttngd.co.th/2014_pttngd/about.php?page=shareholders
หาดูไปเรื่อยๆ เถอะจ้ะ แล้วจะพบเงื่อนงำ
เพิ่มเติมข้อมูล รอบสอง ยุครัฐบาลเปรม ติณสูลานนท์ (3 มีนาคม 2523 - 4 สิงหาคม 2531) แม้ช่วงแรกๆ ต้องเข้ามาแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องมา แต่ไม่ช้าสถานการณ์ได้เข้ารูปเข้ารอย แผนการใหญ่จึงเริ่มต้นอย่างมียุทธศาสตร์
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ถูกวางตัวเข้ามาดูแลยุทธศาสตร์ใหญ่ ในฐานะรัฐมนตรีช่วยว่าการอุตสาหกรรม (11 มีนาคม 2524 - 19 กันยายน 2528) รัฐมนตรีว่าการอุตสาหกรรม (19 กันยายน 2528 - 11 สิงหาคม 2529) และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ (11 สิงหาคม 2529 - 27 กรกฎาคม 2530)
พิมพ์เขียวใหญ่ของชาติว่าด้วยโครงการปิโตรเคมีแห่งชาติ (Petrochemical Complex) ถูกร่างขึ้น ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญ ในขณะเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และเป็นประธานคณะอนุกรรมการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และเข้าสู่ระยะหัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญในฐานะรัฐมนตรีว่าการอุตสาหกรรม ปัจจุบันดร.จิรายุ คือผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (2530 - ปัจจุบัน) และประธานกรรมการบริษัทปูนซิเมนต์ไทยในช่วงสำคัญ (2541-2 และ 2550- ปัจจุบัน)เดือนมิถุนายนปี 2526 คณะอนุกรรมการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เสนอรายงานถึงความพร้อมของประเทศไทย ในการดำเนินโครงการ และผลตอบแทนที่คุ้มค่า พร้อมเสนอรูปแบบการลงทุนภายใต้โครงสร้างร่วมมือระหว่างรัฐกับเอกชนในการลงทุนผลิตภัณฑ์ขั้นต้น (Up Stream) และให้เอกชนลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง (Dawn Stream)
คณะอนุกรรมการชุดเดียวกันได้คัดเลือกผู้ร่วมทุนฝ่ายเอกชนขึ้นมา 4 ราย เพื่อร่วมถือหุ้นในบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ ถูกตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2526 อย่างเป็นรูปเป็นร่าง ด้วยการลงนามร่วมทุนฝ่ายรัฐและเอกชน โครงสร้างผู้ถือหุ้นน่าสนใจ ปตท. ถือหุ้นใหญ่ที่สุด 49% เอกชน 4 รายถือหุ้นรวมกัน 49% ที่สำคัญสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ถือหุ้น 2% แม้ถือหุ้นจำนวนน้อยแต่ถือว่าอยู่ในฐานะทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญในกรณีเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐกับเอกชน
ปตท. คงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในกิจการอุตสาหกรรมตั้งต้นของปิโตรเคมีต่อไป เมื่อ Petrochemical Complex พัฒนาอย่างมั่นคงและดูมีอนาคตมากขึ้น เป็นการลงทุนในช่วงที่ ปตท. มีฐานะทางการเงินที่ดี และมองว่าเป็นการลงทุนที่ควรได้รับผลตอบแทนในระยะยาวทีดี
- 25 ธันวาคม 2532 ก่อตั้งบริษัทอะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) ดำเนินโครงการผลิตสารอะโรเมติกส์ (Aromatics) แห่งแรกของประเทศไทย ตามนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ 2 โดย ปตท. แม้ไม่ใช่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่โดยตรงแต่ก็มีสัดส่วนพอสมควร 25% โดยไทยออยล์ (ปตท. เข้ามาถือหุ้นในไทยออยล์ตั้งแต่ปี 2523 มีสัดส่วน 49% โดยมีสำนักงานทรัพย์สินฯถือหุ้น 2% ด้วย) ถือหุ้นใหญ่ทีสุด 40% และ Exxon Chemical Eastern Inc. 35%
– 5 มกราคม 2533 ก่อตั้งบริษัท ไทยโอเลฟินส์ ผู้ผลิตโอเลฟินส์แห่งที่สอง (ต่อจ่ากบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ) โดยมี ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 40% บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ 11 % (โดย ปตท. ถือหุ้นในบริษัทนี้ 49%) และกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่สำคัญ ได้แก่ บริษัทบางกอกโพลีเอทิลีน (กิจการในเครือศรีกรุงวัฒนาและธนาคารกรุงเทพ) 11.7% บริษัทในเครือซิเมนต์ไทย 3.82 % (ปีต่อมาได้รับการจัดสรรเพิ่มขึ้นเป็น 8.59%) บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย (ทีพีไอ) 6.86% และบริษัท วินิไทย (กิจการร่วมทุนระหว่าง Solvay Vinyls Holding AG แห่งเบลเยี่ยม กับซีพี) 5.29%
เพิ่มเติมอีกรอบ http://www.eppo.go.th/vrs/VRS54-06-ptt.html
เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2544 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ รับทราบผลการประชุมการระดมความคิดเห็นเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาตลาดทุน ซึ่งเห็นชอบแผนเตรียมความพร้อมในการนำรัฐวิสาหกิจเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยในจำนวนนี้มี การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบที่จะนำเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างช้าภายในเดือนพฤศจิกายน 2544
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันหารือถึงการกำหนดโครงสร้างและขั้นตอนในการแปรสภาพ ปตท. เป็น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) โดยอาศัยพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐบาลที่ต้องการนำ ปตท. เข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ภายในปี 2544 เพื่อให้ประชาชนชาวไทยสามารถเป็นเจ้าของร่วมกัน โดยให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน ความรับผิดชอบ พนักงาน ลูกจ้าง และส่วนธุรกิจทั้งหมดของ ปตท. ไปเป็น บมจ.ปตท. แทน
และในเดือนธันวาคม หุ้น บมจ. ปตท. เข้าทำการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และทำการซื้อขายเป็นวันแรก วันที่ 6 ธ.ค. 44 สมัยรัฐบาลทักษิณ
ขัดตีนใครหลายๆ คน - จนเทวดา และขี้ข้าเทวดาหลายตนทนไม่ไหว
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar