söndag 10 maj 2015

รำลึกการจากไป 3 ปี อำพล ตั้งนพกุล หรือมักเรียกกันว่า อากง (1 มกราคม 2491 — 8 พฤษภาคม 2555)



รำลึกการจากไป 3 ปี อำพล ตั้งนพกุล หรือมักเรียกกันว่า อากง (1 มกราคม 2491 — 8 พฤษภาคม 2555) 

เหยื่อ  ม . ๑๑๒ อำพล ตั้งนพกุล ( อากง ) และ  ๔ ข้อความใน SMS





อำลา "อากง SMS"


https://www.youtube.com/watch?v=vnMvi0wvtIo

Published on Aug 24, 2012
นายอำพล (สงวนนามสกุล) หรือ "อากง SMS" ชายชราวัย 60 ปีเศษ เป็นที่สนใจอย่างกว้างขวาง ภายหลังถูกดำเนินคดีในข้อหาส่ง SMS หมิ่นเบื้องสูง นับตั้งแต่เริ่มพิจารณาไต่สวนคดี คดีนี้ก็เป็นจุดสนใจของนักกิจกรรมทางสังคม นักวิชาการ สื่อมวลชนทั้งในและต่างประเทศ และเป็นประเด็นถกเถียงในโลกออนไลน์ และเมื่ออากงถูกพิพากษาจำคุก 20 ปี ประเด็นเรื่องความเหมาะสมของโทษและข้อกังข­าต่อการดำเนินกระบวนการยุติธรรม ในการพิจาร­ณาคดีตามกฎหมายอาญามาตรา 112 ก็กลายเป็นข้อถกเถียงของสังคมไทยที่ขยายให­ญ่กว่าเดิม และเป็นแรงผลักดันให้เกิดการเคลื่อนไหวเรี­ยกร้องให้แก้ไขหรือยกเลิกกฎหมาย มาตรานี้เป­็นวงกว้าง

การเริ่มต้นรณรงค์ครั้งใหญ่ให้ปลดปล่อยสัง­คม ไทยออกจากพันธนาการแห่งความกลัวกฎหมายอา­ญามาตรา 112 หรือโครงการ Thailand Fearlessness Free Akong ของปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ นักวิชาการประจำมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโป­ร์ในขณะนั้น ได้สร้างกระแสการตื่นตัวอย่างมากในสังคมออ­นไลน์ มีผู้เข้าร่วมการรณรงค์ครั้งนั้นเป็นจำนวน­มาก และมีกลุ่มเคลื่อนไหวต่อมาคือ คณะรณรงค์แก้ไขมาตรา 112 หรือ ครก.112 เริ่มการรณรงค์รวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเ­สนอต่อรัฐสภาขอแก้ไขกฎหมายอาญา มาตรา 112 โดยอาศัยร่างกฎหมายของนักวิชาการกลุ่มนิติ­ราษฎร์เป็นหลัก

อา กง SMS เสียชีวิตในวันที่ 8 พ.ค.2555 ระหว่างถูกคุมขังที่เรือนจำกลางพิเศษกรุงเ­ทพฯ มานาน 1 ปีเศษ จากอาการป่วยด้วยโรคมะเร็งในระยะสุดท้าย ผู้ต้องขังที่อยู่ใกล้ชิดอากงระบุในจดหมาย­ว่า ระหว่างเจ็บป่วยอากงไม่เคยได้รับการรักษาพ­ยาบาลอย่างถูกต้องเหมาะสม

การ เสียชีวิตของอากง SMS ได้จุดกระแสความตื่นตัวต่อสิทธิของผู้ต้อง­ขัง และเกิดกลุ่มกิจกรรมชื่อ กลุ่มปฏิญญาหน้าศาล ที่จัดกิจกรรมการเสวนาหน้าศาลอาญา รัชดาต่อเนื่องทุกวันอาทิตย์ และปลายเดือน พ.ค.นั้น ครก.112 ได้รวบรวมรายชื่อประชาชนได้เกือบ 3 หมื่นรายชื่อ และนำรายชื่อเหล่านั้นยื่นต่อรัฐสภา

พิธีฌาปนกิจศพอากงจะจัดขึ้นในวันที่ 25 และ 26 พ.ค.นี้ ที่วัดลาดพร้าว กรุงเทพ

เปิดเผย ๔ ข้อความใน SMS ที่อ้างว่าส่งโดย นาย อำพล ตั้งนพกุล (อากง ) ตัดมาจากบทความของ Andrew MacGregor Marshall den 8 maj 2012 kl. 18:00 · ที่มาของสาเหตุวางยาพิษปลิดชีวิตอากงผู้บริสุทธ์ อากงส่ง SMS ไม่เป็นอย่างแน่นอน แล้วใครเป็นคนส่ง SMS ถึงเลขานายอภิสิทธ์?


เปิดเผย ๔ ข้อความใน SMS ที่อ้างว่าส่งโดย นาย อำพล ตั้งนพกุล (อากง ) ตัดมาจากบทความของ Andrew MacGregor Marshall den 8 maj 2012 kl. 18:00 ·

The four SMS messages allegedly sent by Ampon Tangnoppakul focus on these issues. Whoever sent them was, like many Thais, deeply unhappy with the behaviour of Queen Sirikit. The content of the messages has not been made public until now. The four messages are reproduced below, with a colloquial English-language translation. They are taken from a court document which can be viewed in its entirety in PDF format here:

  • First SMS. May 9, 2010. ขึ้นป้ายด่วน อีราชนีชั่วมันไม่ยอมเอาเพชรไดรมอนด์ไปคืนซาอุฯ ราชวงศ์หัวควยมันพังแน่ [Put it on billboards urgently, the evil queen refuses to return the diamond to Saudi, this dickhead dynasty will surely collapse.]
  • 2nd SMS, May 11, 2010. อีราชีนีชั่ว อีหีเหล็กมึงแน่จริงมึงส่งทหารเหี้ยๆ มาปราบพวกกูซิวะ โคตรอีดอกทอง ชั่วทั้งตระกูล [The evil queen, the iron cunt, if you are brave enough, send your damn army to crack down on us, you master of whores, family of the bad people.]
  • 3rd SMS, May 12, 2010. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหัวควย อีราชีนีหีเหล็ก ไอ้อีสองตัวนี้มันบงการฆ่าประชาชน ต้องเอาส้นตีนเหยียบหน้ามัน [His Majesty dickhead king, the iron cunt queen, both of them ordered the killing of people. We will stamp on their faces with our heels.]
  • 4th SMS, May 22, 2010. ช่วยบอกไอ้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหัวควยกับอีราชินีหีเหล็ก และลูกหลานมันทุกๆ คนต้องตาย [Please tell his majesty dickhead King, the iron cunt queen and all of their children, you'll all die.]

The messages are offensive and inflammatory. Their content is likely to shock many Thais, whatever their views about the monarchy. There is no convincing evidence they were sent by Ampon. And whoever sent them, the question of whether they should merit a 20-year jail sentence in a 21st century democracy is highly controversial. 

Bhumibol himself remains estranged from Sirikit, and since September 2009 he has lived a reclusive existence in Siriraj Hospital on the west bank of the Chao Phraya river that weaves through Bangkok, refusing to return home to one of his palaces even when his doctors cleared him to do so. His physical health is clearly failing, but it is his mental health that worries many in the Thai elite. As leading royalist Anand Panyarachun told U.S. ambassador Ralph "Skip" Boyce back in 2007:

Anand said he was less concerned about the King's  physical health than about his ability to receive objective  advice and to benefit from the company of friends.  Anand  remarked that half the people who work at the Palace did so only to acquire status and peddle influence; only around one-third of those at the court were there solely out of  devotion to the King. He said the King was lonely and, for the most part, could not select the people with whom he  spends his time. 

In October 2009, Suthep Thaugsuban, the corrupt secretary-general of the royalist Democrat Party, told the U.S. embassy that Bhumibol was mentally ill:

Tapping his forehead, Suthep claimed that the King's physical health was okay, but that the really  worry was his state of mind, depressed at the state of  affairs in his Kingdom at the end of his life. 

An unnamed longtime foreign resident of Thailand made a similar observation, also reported in a leaked U.S. cable:

There is clearly no way for anyone to analyze  accurately the King's state of mind, or draw certain conclusions between political developments, possible mental stress, and his physical ailments.  However, one long-time  expat observer of the Thai scene, present in Thailand since  1955, has repeatedly asserted to us over the past year that  the King shows classic signs of depression -- "and why  wouldn't he, seeing where his Kingdom has ended up after 62  years, as his life comes to an end" -- and claims that such  mental anguish likely does affect his physical  condition/failing health. 

In November 2009, U.S. ambassador Eric G. John wrote that Bhumibol was:

by many accounts beset long-term by Parkinson's, depression, and chronic lower back pain... 

The king's relationship with his wife and most of his children has been poisoned. Only his second daughter, Sirindhorn, remains close to him. The widespread reverence that many Thais felt for him for decades is collapsing. Like Ampon, he seems fated to die isolated and heartbroken, another tragic victim of Thailand's royalist curse.

Inga kommentarer:

Skicka en kommentar