สมชายชี้อย่าโฟกัสแค่ประยุทธ์จะสืบทอดอำนาจ จนลืม 'อภิชน' ที่เข้ามาอยู่ในโครงสร้างการเมือง ด้านใบตองแห้งเตือนประชามติรอบนี้เท่ากับรับรอง รธน.+กฎหมาย 10 ฉบับ พนัสสรุป ร่าง รธน. สะท้อน 'ระบบอภิชนาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง'
3 ก.พ. 2559 เมื่อเวลา 13.00 น. โครงการปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และ Group of Comrades ร่วมจัดเสวนา "ชำแหละร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 'คสช.2.0'" ที่ห้อง 802 อาคารเอนกประสงค์ มธ. ท่าพระจันทร์ มีผู้สนใจมารอฟังเสวนาจนล้นห้อง ต้องนำเก้าอี้มาเสริมหน้าห้อง
ในงาน วรัญชัย โชคชนะ มาร่วมฟังด้วยพร้อมพานรัฐธรรมนูญ เมื่อถามว่าต้องการสื่อความหมายอะไร "มันชัดแล้ว ไม่ต้องพูดแล้วมั้ง" วรัญชัยกล่าว
สมชาย ใบตองแห้ง
สมชายชี้อย่าโฟกัสแค่ประยุทธ์จะสืบทอดอำนาจ จนลืม 'อภิชน' ที่เข้ามาอยู่ในโครงสร้างการเมือง
ใบตองแห้งเตือนประชามติรอบนี้เท่ากับรับรอง รธน.+กฎหมาย 10 ฉบับ
3 ก.พ. 2559 เมื่อเวลา 13.00 น. โครงการปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และ Group of Comrades ร่วมจัดเสวนา "ชำแหละร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 'คสช.2.0'" ที่ห้อง 802 อาคารเอนกประสงค์ มธ. ท่าพระจันทร์ มีผู้สนใจมารอฟังเสวนาจนล้นห้อง ต้องนำเก้าอี้มาเสริมหน้าห้อง
ผู้ร่วมเสวนา ประกอบด้วย สมชาย ปรีชาศิลปกุล อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธึกกิต แสวงสุข หรือใบตองแห้ง พิธีกรและคอลัมนิสต์ พนัส ทัศนียานนท์ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มธ. ดำเนินรายการโดย ษัษฐรัมย์ ธรรมบุศดี อาจารย์วิทยาลัยสหวิทยาการ มธ.
อ่านร่างรัฐธรรมนูญที่ เว็บไซต์รัฐสภาในงาน วรัญชัย โชคชนะ มาร่วมฟังด้วยพร้อมพานรัฐธรรมนูญ เมื่อถามว่าต้องการสื่อความหมายอะไร "มันชัดแล้ว ไม่ต้องพูดแล้วมั้ง" วรัญชัยกล่าว
สมชาย ใบตองแห้ง
สมชายชี้อย่าโฟกัสแค่ประยุทธ์จะสืบทอดอำนาจ จนลืม 'อภิชน' ที่เข้ามาอยู่ในโครงสร้างการเมือง
ใบตองแห้งเตือนประชามติรอบนี้เท่ากับรับรอง รธน.+กฎหมาย 10 ฉบับ
พนัสสรุป ร่าง รธน. สะท้อน 'ระบบอภิชนาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง'
คลิกอ่านทั้งหมด- prachatai.org/journal/2016/02/63854
อ่านรายงานช่วงถาม-ตอบ เวทีชำแหละร่าง รธน.
ที่นี่ prachatai.org/journal/2016/02/63854
คำถาม
1. มีเวลาเสนอความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญถึงแค่ 15 ก.พ.เราควรทำอย่างไร/ เราควรรับหรือไม่รับ จะรณรงค์อย่างไรดี/ ถ้ารัฐธรรมนูญนี้ผ่านประชามติ ชีวิตพวกเราจะเป็นอย่างไร ถ้าไม่ผ่านจะเป็นอย่างไร
1. มีเวลาเสนอความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญถึงแค่ 15 ก.พ.เราควรทำอย่างไร/ เราควรรับหรือไม่รับ จะรณรงค์อย่างไรดี/ ถ้ารัฐธรรมนูญนี้ผ่านประชามติ ชีวิตพวกเราจะเป็นอย่างไร ถ้าไม่ผ่านจะเป็นอย่างไร
2. รัฐธรรมนูญไม่จำเป็นต้องเป็นประชาธิปไตย แต่สิ่งสำคัญคือการจัดวางสถาบันทางการเมือง?
3. ร่างรัฐธรรมนูญไม่มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ (คปป.) เหมือนร่างที่แล้ว แล้ว คสช.จะไปอยู่ตรงไหน เขาวางเกมไว้อย่างไร
4.นายกฯ คนนอกจะมาทางไหน การเสนอชื่อจากพรรคการเมืองก็เท่ากับประชาชนรับทราบแล้ว ต้องเลือกคนที่ประชาชนรับได้
5.หากรัฐธรรมนูญไม่ผ่าน คสช.ต้องรับผิดชอบอะไรไหม
3. ร่างรัฐธรรมนูญไม่มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ (คปป.) เหมือนร่างที่แล้ว แล้ว คสช.จะไปอยู่ตรงไหน เขาวางเกมไว้อย่างไร
4.นายกฯ คนนอกจะมาทางไหน การเสนอชื่อจากพรรคการเมืองก็เท่ากับประชาชนรับทราบแล้ว ต้องเลือกคนที่ประชาชนรับได้
5.หากรัฐธรรมนูญไม่ผ่าน คสช.ต้องรับผิดชอบอะไรไหม
Inga kommentarer:
Skicka en kommentar