måndag 2 december 2013

เรานำบทความนี้มาลงให้ท่านที่มีความรู้ภาษาอังกฤษแตกฉานได้อ่านและช่วยแปลเป็นวิทยาทานให้แก่คนไทยทั่วไปอ่านด้วย บทความนี้เอามาจาก The Economist ฉบับเต็มที่หนังสือพิมพ์ไทยไม่กล้านำลงตีพิมพ์



The exile and the kingdom

Fixing Thailand’s broken politics requires the government, the opposition and the monarchy all to change



 
The government is led formally by Yingluck Shinawatra, the prime minister, but informally by her brother, Thaksin Shinawatra, a wealthy tycoon. Deposed in a coup in 2006 and later convicted of abusing his power, Mr Thaksin runs the government by remote control from self-imposed exile in Dubai. Thailand’s social and business elites regard him as corrupt and high-handed, and are appalled by his populist economic policies. But, thanks in large measure to his popularity in the rural north and north-east, Mr Thaksin’s party (its latest incarnation is called Pheu Thai) keeps winning elections—in 2001 and 2005, and (through proxies) in 2007 and 2011.

Until recently Ms Yingluck’s government seemed to have reached an accommodation with the establishment. Then it pushed through the lower house of parliament a sweeping amnesty bill which would have let Mr Thaksin return home, while expunging thousands of other court cases. There was huge opposition to the bill, even among some of Mr Thaksin’s former fans, who thought it went too far. It was thrown out in the Senate. Retreating, Ms Yingluck promised not to revive it.
Encouraged, the opposition pushed its advantage. The partially appointed Senate tends to side with the opposition, so the government has been trying to change the constitution to make it fully elected. On November 20th the constitutional court backed the opposition’s view that the amendment was unconstitutional; it has yet to rule on whether those who voted for it broke Thailand’s strict lèse-majesté law.
Like some of its predecessors, the government may thus be finished off by the judiciary. But even after the amnesty fiasco, Ms Yingluck may well win a fresh election. And in the meantime, the two sides’ supporters slug it out on the streets, and Thailand totters.

Prince charmless
 
For this stalemate to end, three changes are needed. First, the opposition—led by the members of the main establishment political party, the Democrats—must abandon its undemocratic tactics. Its leaders want it both ways. They support parliamentary democracy when it produces the “right” result; when it does not, they resort to the streets, the courts or a phone call to army headquarters. That must stop.
Second, Thaksinite governments have to learn that they must use their electoral mandates not just to win the renewed votes of their supporters next time—still less to run government for Mr Thaksin’s ends—but for the good of the country. That includes confronting corruption, ditching crazy policies, such as a price-support scheme for rice, and promoting a better business climate.
 
Third, the monarchy must stop playing politics and accept the symbolic role the constitution accords it. Two looming events have helped make Thai politics so frenzied. One is the 86th birthday on December 5th of Thailand’s revered king for 67 years, Bhumibol Adulyadej. By tradition, harmony is supposed to prevail on that day. The king will probably be too frail to make his customary birthday speech. His unpopular son, the crown prince, is likely to succeed him. None of this is discussed in Thailand, for it would contravene the lèse-majesté (as this leader now does too).
This pernicious law blocks rational discourse about urgently needed reforms. Thailand’s constitution not only has undemocratic elements, but also gives the central government too much power. That has helped fuel a long-running bloody conflict in the Muslim south. It may yet help spark another, in the Thaksin-supporting north-east. 
The royal family should give its explicit support to constitutional reform—and first call for an end to lèse-majesté.


สื่อต่างประเทศเสนอ 3 แนวทางสำคัญในการนำพาประเทศไทยรอดพ้นจากวิกฤตการเมืองครั้งนี้ โดยเรียกร้องให้ฝ่ายค้านยุติการต่อสู้ในแนวทางไม่เป็นประชาธิปไตย ส่วนรัฐบาลก็ต้องไม่ยึดมั่นในการกุมเสียงส่วนใหญ่จนไม่สนใจปัญหาคอรัปชั่น

The Economist นิตยสารด้านการเมืองชื่อดังของโลก ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับสถานการณ์การประท้วงในประเทศไทย โดยแสดงความกังวลว่าการเมืองไทยกำลังกลับไปสุ่ยุคของความรุนแรงและการไม่ยึด มั่นในหลักประชาธิปไตยอีกครั้ง และการยุบสภาหรือลาออกของรัฐบาลก็จะไม่ทำให้สถานการณ์คลี่คลาย เนื่องจากรัฐบาลพรรคเพื่อไทยน่าจะได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งอยู่ดี แม้จะสูญเสียคะแนนนิยมไปบ้างจากการสนับสนุนร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมเหมาเข่ง

Economist จึงเสนอทางออก 3 ประการสำหรับทุกฝ่ายที่มีส่วนในความขัดแย้งครั้งนี้ ประการแรกฝากถึงฝ่ายต่อต้านรัฐบาล Economist เรียกร้องให้พรรคประชาธิปัตย์ ในฐานะแกนนำฝ่ายต้านรัฐบาล ยุติแนวทางที่ไม่เป็นประชาธิปไตยทุกชนิดในการต่อสู้เพื่อโค่นล้มรัฐบาล โดยย้ำว่าประชาธิปัตย์ควรยกเลิกพฤติกรรมการชื่นชมระบอบรัฐสภาเฉพาะเมื่อผล ออกมาเป็นตามที่ตัวเองต้องการ แล้วหันไปหาแนวทางอื่นๆอย่างการออกไปเล่นการเมืองข้างถนน ใช้ศาลเป็นเครื่องมือ หรือโทรหากองทัพ หากผลไม่เป็นไปตามที่หวังได้แล้ว

ส่วนข้อเสนอประการที่สอง Economist เรียกร้องให้รัฐบาลพรรคเพื่อไทยยุติการใช้คะแนนนิยมจากประชาชนเป็นเพียง เครื่องมือในการชนะเลือกตั้งและได้เป็นรัฐบาล ให้เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และหันมาปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นอย่างจริงจัง

ข้อเสนอสุดท้าย Economist กษัตริย์ไทย ต้องเลิกเข้ามายุ่งเกี่ยวกับการเมือง และเคารพในบทบาทที่เป็นเพียงสัญลักษณ์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ มีปรากฏการสองตรั้งที่ทำให้การเมืองไทยเกิดความวุ่นวายขึ้นคือในวันเกิดของกษัตริย์คือวันที่ ๕ ธันวาคม ซึ่งเป็นวันครบรอบ ๖๗ ปีที่กษัตริย์ภูมิพล อดุลยเดชปกครองประเทศมา ตามประเพณีแล้วความสามัคคีควรจะเกิดขึ้นในวันนั้น แต่กษัตริย์อาจจะอ่อนแอเกินไปไม่สามารถจะกล่าวสุนทรพจน์ในวันเกิดของตนเองตามประเพณีได้   ดูเหมือนว่ามกุฏราชกุมาร ลูกชายที่ไม่ได้รับความนิยมชมชอบจากประชาชนของกษัตริย์จะขึ้นครองราชย์แทน แต่ปัญหาเหล่านี้ไม่มีการพูดคุยและถกเถียงกันเลยในเมืองไทยเพราะผิดกฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ  ซึ่งทักษิณเองก็ โดนข้อหานี้ ดังนั้นกฏหมายนี้ต้องได้รับการแก้ไขอย่างรีบด่วน รวมถึงสนับสนุนให้มีการปฎิรูปรัฐธรรมนูญอย่างจริงจัง เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของไทย นอกจากจะมีความไม่เป็นประชาธิปไตยอยู่หลายประการ ยังรวมศูนย์อำนาจไว้ที่รัฐบาลมากเกินไป จนเป็นต้นเหตุของปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เรื้อรังมานาน และอาจยังทำให้เกิดความรุนแรงในลักษณะคล้ายคลึงกันในภาคอีสาน ซึ่งเป็นฐานที่มั่นของคนเสื้อแดงได้ในอนาคต
ครอบครัวกษัตริย์ควรให้การสนับสนุนการปฏิรูปรัฐธรรมนูญและยกเลิกกฏหมายหมิ่นนั้นทันที .

1 ธันวาคม 2556 เวลา 18:22 น.

Inga kommentarer:

Skicka en kommentar