måndag 25 juli 2016

กษัตริย์ภูมิพลคือตัวปัญหาที่ขัดขวางทุกอย่างในประเทศไทย

กษัตริย์ภูมิพลคือตัวปัญหาที่ขัดขวางทุกอย่างในประเทศไทย ขัดขวางการแก้รัฐธรรมนูญ ขัดขวางไม่ให้ประเทศไทยมีระบอบประชาธิปไตย ขัดขวางความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติ ขัดขวางไม่ให้ประชาชนชาวไทยมีสิทธิเสรีภาพ ใช้ ม. ๑๑๒ กดหัวประชาชน ห้ามไม่ให้คนวิจารณ์กษัตริย์ แล้วจะให้สังคมนี้อยู่กันอย่างไร จะมีกษัตริย์ไว้ทำอะไร...? ประชาชนไทยต้องเสียค่าใช้จ่ายเลี้ยงดูกษัตริย์มาหลายชั่วโคตร ปีละหลายหมื่นหลายพันล้าน แล้วกษัตริย์ทำประโยชน์อะไรให้แก่ประเทศไทย ? ฉนั้นประเทศไทยไม่จำเป็นต้องมีกษัตริย์ ประเทศชาติและประชาชนชาวไทยจะได้มีสิทธิเสรีภาพ มีประชาธิปไตย เสียที ...!


ดูจากตัวอย่างข้างล่างนี้....



สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล คอมเม้นต์ข่าวทางfacebookว่า...

ที่ นายกฯยิ่งลักษณ์อ้างว่า ถ้าผ่านวาระ 3 แล้ว เสนอขึ้นไปให้ลงพระปรมาภิไธย จะต้องไป "ติด" ที่สถาบันกษัตริย์แน่ๆ (จะว่าเป็นเรื่อง การ "สกรีน" ของ องคมนตรี อะไรก็แล้วแต่ ทาง กม.คือ ไป "ติด" ที่ขั้นตอน ลงพระปรมภิไธยนันแหละ)

ตามรัฐธรรมนูญจริงๆ ก็ไมใช่เรือ่งอะไรทีใช้อ่างว่า ทำให้ ผ่าน วาระ 3 ไมได้หรอก เพราะ มีข้อกำหนด ตาม รธน.อยู่แล้ว (ม.150-151) เรือ่งว่า เสนอ กม.ขึ้นไป แล้วไม่มีการลงพระปรมาภิไธย ให้ทำยังไง

ไม่มีข้อกำหนด เรื่อง "ต้องตกนรก" ใน รธน.แน่ๆ ในกรณีทีเสนอขึ้นไปแล้ว "ติด" ไม่มีการลงพระปรมาภิไธย

สรุปคือ ทีนายกฯ อ้างๆ เรืองนี้ ก็ไม่ได้อ้าง "ตามรัฐธรรมนูญ" เหมือนกัน

สรุปแล้ว ประเทศนี้ แม่ม อย่ามีรัฐธรรมนูญเลย กลับไปใช้ สมบูรณาญาสิทธิราชดีกว่าว่ะ


อันที่จริง ถ้าพูดในทาง ตัวบท รธน.นะ

การที่ สภา เสนอ พรบ.อะไรขึนไปให้กษัตริย์ แล้ว ไมทรงลงพระปรมาภิไธย รับรอง (กระบวนการ "สกรีน" ของ องคม นตรี ไม่ได้มีอยู่ใน รธน.อะไร ถือเป็นการ "จัดการภายใน" ของสถาบันกษัตริย์ และโดย รธน. ก็ต้องถือว่า อยู่ในขันตอนของการ "ทูลเเกล้า ให้ทรงลงพระปรมาภิไธย" นั่นแหละ)

ตัวบท รธน. ก็มีการกำหนด วิธีการจัดการอยู่ คือ มาตรา 150-151 ที่กำหนดว่า

หลังจาก พรบ.ใด ผ่านสภาแล้ว ภายใน 20 วัน ให้นำขึนทูลเกล้าฯ ลงพระปรมาภิไธย

ซึง ถ้าไม่ลงพระปรมาภิไธย (จะด้วยการ "สกรีน" และ "ถวายคำแนะนำ" ของ องคมนตรี หรืออะไรก็แล้วแต่) ก็เป็นไปได้ 2 ทาง คือ

(ก) ทรง พระราชกลับมาเลย บอกว่า ทรงไม่เห็นด้วย ซึงสภา ก็ต้องเอากลับมาพิจารณาใหม่ และถ้ายืนยันลงมติ จะสนับสนุน กม.นันอยู่ ก็ต้องด้วยคะแนน 2 ใน 3 (ถ้าไม่ถึง ก็ตก คือ การ "วีโต้" ของกษัตริย์ มีผล) แล้วทูลเกล้า ใหม่ ถ้าใน 30 วัน ไม่ลงพระปรมาภิไธยอีก ก็ประกาศใช้เป็น กม. ได้

(ข) หลังจากผ่านสภา และทูลเกล้าไปแล้ว แต่พระมหากษัตริย์ ไม่ได้ทรงมีวินิจฉัยอะไรลงมา (ไม่ได้บอกว่า "ไม่เห็นด้วย ไมเซ็น" แบบข้อ ก) ภายในเวลา 90 วัน รัฐสภา ก็ต้องเอาพิจารณาใหม่ เหมือนข้อ ก

พูด ง่ายๆ คือ พระมหากษัตริย์ สามารถ "วีโต้" กม.ได้ 2 วิธี คือ บอกลงมาตรงๆว่า ไม่เห็นด้วย หรือไม่ก็ทิ้งเวลาไว้ 90 วัน และ สภา ก็มีสิทธิจะ "ล้ม" การ วีโต้ นั้น ด้วยการลงคะแนน 2 ใน 3

แต่ว่า ที่พูดๆกัน ตามข่าว ทีว่า ถ้า ทูลเกล้าฯ แล้ว ไป "ติด" อยู่ทีการ "สกรีน" ของ "องคมนตรี" ทำให้ไม่กล้า ทูลเกล้า

อันนี้ จริงๆ ก็เรียกว่า เป็นการ "ไม่สนใจว่า รธน. มีข้อกำหนด ไว้เรียบร้อยแล้ว ว่า ให้ทำยังไง" นั่นแหละ

คือ ประเภท ไมได้กำลังพูดถึงหลักการอะไร แต่พูดถึง ในแง่ "อำนาจทางการเมือง และวัฒนธรรม" ทีเป็นจริง ของสถาบันกษัตริย์ ในแง่ที่ว่า ถ้าทูลเกล้าฯขึ้นไปแล้ว ไม่ได้รับการเห็นชอบ (จะโดยกระบวนการ "สกรีน" ของ องคมนตรี หรือโดยการไม่ทรงเห็นชอบด้วยพระองค์เองจริงๆ ก็แล้วแต่)

ก็ให้ถือว่า นายกฯ "อยู่ในนรก"

ซึ่ง จริงๆ ก็ไม่มีกำหนดไว้ใน รธน. หรอก การ "อยู่ในนรก" หลังการทูลเกล้าฯ แล้ว ไม่ผ่านน่ะ

Inga kommentarer:

Skicka en kommentar